ฟิสิกส์ราชมงคล
|
 |
« เมื่อ: ธันวาคม 12, 2009, 12:53:28 pm » |
|
ของเล่นอย่างหนึ่งขายอยู่ตามห้างสรรพสินค้า เป็นทรงกลมมีแกนกลาง มีประกายไฟฟ้าวิ่งวูบวาบจากแกนกลางมาสู่ผิวทรงกลม เมื่อเอามือไปจับผิวทรงกลมจะมีสายฟ้าวิ่งมาสู่มือ เห็นเป็นเส้นขาวชัดเจน คลิกค่ะ
|
|
|
|
tanongsak wachacama
|
 |
« ตอบ #1 เมื่อ: มกราคม 01, 2011, 09:27:55 pm » |
|
กระผมนายทนงศักดิ์ เวชกามา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา115330411016-2 กลุ่ม53341cve sec04 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จรัส บุณยธรรมา ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 01/01/2554 ที่หอพักspcondo เวลา21.27 น. ได้มีข้อคิดเห็นในเรื่องนี้ว่า เทสลาคอยส์หรือหม้อแปลงแบบเรโซแนท์นั้นเป็นหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่ทำให้เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ โดยกาทำงานนั้นจะทำการป้อนพลังงานให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกันกับความถี่ของขดลวดขดที่หนึ่ง และต้องเป็นการป้อนพลังงานที่มีความต่อเนื่องและมีความถี่เท่ากัน ถึงจะทำให้เกิดการเรโซเเนนท์ได้
|
|
|
|
Sonthaya Suwaros
|
 |
« ตอบ #2 เมื่อ: มกราคม 07, 2011, 10:45:55 am » |
|
นายสนธยา สุวรส นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมอุตสาหกรรม รหัสประจำตัว 115040441089-8 เวลา 10.45 น.ครับผม
เทสลาคอยส์ เป็นหม้อแปลงที่อาศัยหลักการเรโซแนนท์ในวงจรไฟฟ้า โดยมีแกนเป็นอากาศ เทสลาคอยส์สามารถสร้างแรงดันไฟฟ้าได้สูงมากอย่างน่าตกใจ ! พวกสร้างภาพยนตร์วิทยาศาสตร์นิยมนำไปใช้ เมื่อพวกเขาต้องการให้ในภาพยนตร์ของเขามีฉากฟ้าผ่า หรือการสปาร์กของกระแสไฟฟ้า ยกตัวอย่างหนังเรื่องคนเหล็กภาค 2 (terminator II) ฉากเริ่มต้นที่หุ่นยนต์จากอนาคตเคลื่อนที่ผ่านมิติมาที่เวลาในปัจจุบัน ในเรื่องจะเห็นประกายไฟฟ้าสปาร์กขึ้นอย่างน่ากลัว และหุ่นยนต์ก็มาปรากฎกายขึ้น เบื้องหลังฉาก ผู้กำกับต้องไปติดต่อนักฟิสิกส์ ให้มาต่อเทสลาคอยส์ให้
|
|
|
|
Sunti
|
 |
« ตอบ #3 เมื่อ: มกราคม 07, 2011, 08:01:31 pm » |
|
Sunti Civil นายสันติ บัวงาม นศ.วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411021-2 Sec 4 เลขที่ 16 ตอบกระทู้วันที่ 7/01/54 เวลา 20:00 ณ. หอป้าอ้วน เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนท์เท่านั้นไม่ใช่ทุก ๆ ความถี่ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น
|
|
|
|
aomme
|
 |
« ตอบ #4 เมื่อ: มกราคม 07, 2011, 08:05:27 pm » |
|
น.ส ศรัญญา เพชรแก้ว เลขที่ 45 sec 02 สาขา สถิติประยุกต์ วัน 07/01/54 เวลา 19.54 สถานที่ บ้านตัวเอง เทสลาคอยส์เรียกว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงทำงานที่มีความถี่หนึ่งที่เกิดจากการเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนียวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนียวนำก้อคือขดลวด เพราะในขดลวดก็คือตัวนำอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่านจุดผ่านศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ความจุไฟฟ้าและตัวต้านทาน ความถี่ของของวงจรไฟฟ้า คำนวนได้จาก ค่ำของตัวเก็บประจุ และค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวด พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดขดที่สอง
|
|
|
|
kambio
|
 |
« ตอบ #5 เมื่อ: มกราคม 08, 2011, 12:34:45 pm » |
|
นางสาว นันทวัน มีชำนาญ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขา ชีววิทยา sec. 02 เลขที่ 43 รหัส 115210904052-5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 ม.ค. 2553 สถานที่ บ้าน เวลา 12.33 น.
เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้าและความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น ความถี่ของวงจรไฟฟ้า คำนวณได้จาก ค่าของตัวเก็บประจุและค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวดที่หนึ่งจนความถี่เท่ากับอันที่สอง พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดที่สอง ทำให้มีแรงดันไฟฟ้าที่จะสปาร์กออกจากปลายขดลวด
|
|
|
|
nuubuoe
|
 |
« ตอบ #6 เมื่อ: มกราคม 08, 2011, 12:46:01 pm » |
|
นางสาวจรีรัตน์ ชะโปรัมย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ รหัส 115310903040-9 sec.02 เลขที่ 63 ตอบกระทู้เมื่อ 08/01/54 เวลา12.45 น.ที่บ้าน เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนท์เท่านั้นไม่ใช่ทุก ๆ ความถี่คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
Nueng
|
 |
« ตอบ #7 เมื่อ: มกราคม 08, 2011, 12:57:10 pm » |
|
นางสาวสมฤดี สอนชอุ่ม เลขที่ 19 รหัส 115110903066-8 sec 02 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 ม.ค. 54 เวลา 13.00 น. ณ หอพักไพลินเพลส สรุปได้สาระสำคัญ ดังนี้ ...... เทสลาคอยส์เรียกว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงทำงานที่มีความถี่หนึ่งที่เกิดจากการเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนียวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนียวนำก้อคือขดลวด เพราะในขดลวดก็คือตัวนำอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่านจุดผ่านศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ความจุไฟฟ้าและตัวต้านทาน ความถี่ของของวงจรไฟฟ้า คำนวนได้จาก ค่ำของตัวเก็บประจุ และค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวด พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดขดที่สอง
|
|
|
|
alongkorn hunbuathong
|
 |
« ตอบ #8 เมื่อ: มกราคม 08, 2011, 01:12:52 pm » |
|
นายอลงกรณ์ หุ่นบัวทอง สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411026-1 เลขที่ 20 กลุ่ม 53341 cve sec 04 วันที่ 8/1/54 เวลา 13.12 น ณ บ้านบางชันวิลล่า เทสลาคอยส์ เป็นหม้อแปลงที่อาศัยหลักการเรโซแนนท์ในวงจรไฟฟ้า โดยมีแกนเป็นอากาศ เทสลาคอยส์สามารถสร้างแรงดันไฟฟ้าได้สูง เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน
|
|
|
|
Jutharat
|
 |
« ตอบ #9 เมื่อ: มกราคม 08, 2011, 02:44:45 pm » |
|
นางสาวจุพารัตน์ นาวายนต์ รหัส 115210417058-2 เลขที่ 28 sec 02 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 มกราคม 2554 เวลา 14.45 ณ หอ RS เทสลาคอยส์เรียกว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงทำงานที่มีความถี่หนึ่งที่เกิดจากการเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนียวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนียวนำก้อคือขดลวด เพราะในขดลวดก็คือตัวนำอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่านจุดผ่านศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ความจุไฟฟ้าและตัวต้านทาน ความถี่ของของวงจรไฟฟ้า คำนวนได้จาก ค่ำของตัวเก็บประจุ และค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวด พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดขดที่สอง
|
|
|
|
kodchaporn
|
 |
« ตอบ #10 เมื่อ: มกราคม 08, 2011, 08:30:30 pm » |
|
น.ส กชพร เพ็งคำเส็ง นศ.วิศวกรรมเกษตร-สาขาอาหาร sec02 เลขที่29 รหัส 115210417059-0 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่วันที่ 8 มกราคม 2554 เวลา 20.30 น. สถานที่ บ้าน เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้ เพื่อจะให้ขดลวดขดที่สองเกิดการเรโซแนนท์ พลังงานที่ป้อนให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกัน กับความถี่ของขดลวดขดที่สอง ถ้าเปรียบเทียบกับการตีระฆัง เวลาคุณตีระฆังด้วยไม้หรือฆ้อนถ้าคุณตึเร็วหรือช้าไปไม่สอดคล้องกับการสั่นของระฆัง เสียงของระฆังจะไม่ดังกังวาน และดังไม่มากนัก แต่ถ้าคุณตีระฆังอย่างต่อเนื่องให้มีความถี่เดียวกับการสั่นของระฆัง จะได้เสียงที่กังวานและดังกระหึ่ม อันนี้คือปรากฎการณ์เรโซแนนท์
|
|
|
|
nutthaporn
|
 |
« ตอบ #11 เมื่อ: มกราคม 08, 2011, 09:33:59 pm » |
|
นางสาว กิติมา รัตโนทัย เลขที่ 16 รหัส 115110903001-5 วันที่ 8 ม.ค. 54 เวลา 21.34 น. สถานที่ หอ zoom เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้นไม่ใช่ทุกๆความถี่ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวดเพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้วค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวดทั้งตัวเหนึ่ยวนำความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดีจึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้เพื่อจะให้ขดลวดขดที่สองเกิดการเรโซแนนท์ พลังงานที่ป้อนให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกันกับความถี่ของขดลวดขดที่สองถ้าเปรียบเทียบกับการตีระฆังเวลาคุณตีระฆังด้วยไม้หรือฆ้อนถ้าคุณตึเร็วหรือช้าไปไม่สอดคล้องกับการสั่นของระฆังเสียงของระฆังจะไม่ดังกังวาน และดังไม่มากนักแต่ถ้าคุณตีระฆังอย่างต่อเนื่องให้มีความถี่เดียวกับการสั่นของระฆังจะได้เสียงที่กังวานและดังกระหึ่มอันนี้คือปรากฎการณ์เรโซแนนท์
|
|
|
|
nutthaporn
|
 |
« ตอบ #12 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 01:23:59 am » |
|
นางสาวณัฐพร พิศนุ sec 02 เลขที่ 17 รหัส 115110903030-4 วันที่ 09/01/2554 เวลา 01.24 สถานที่ หอ ZOOM
เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้นไม่ใช่ทุกๆความถี่ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวดเพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้วค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวดทั้งตัวเหนึ่ยวนำความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดีจึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้เพื่อจะให้ขดลวดขดที่สองเกิดการเรโซแนนท์ พลังงานที่ป้อนให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกันกับความถี่ของขดลวดขดที่สองถ้าเปรียบเทียบกับการตีระฆังเวลาคุณตีระฆังด้วยไม้หรือฆ้อนถ้าคุณตึเร็วหรือช้าไปไม่สอดคล้องกับการสั่นของระฆังเสียงของระฆังจะไม่ดังกังวาน และดังไม่มากนักแต่ถ้าคุณตีระฆังอย่างต่อเนื่องให้มีความถี่เดียวกับการสั่นของระฆังจะได้เสียงที่กังวานและดังกระหึ่มอันนี้คือปรากฎการณ์เรโซแนนท์
|
|
|
|
kitima
|
 |
« ตอบ #13 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 09:06:44 am » |
|
นางสาว กิติมา รัตโนทัย เลขที่ 16 รหัส 115110903001-5 วันที่ 9 ม.ค. 54 เวลา 9.06 น. สถานที่ หอ zoom เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้นไม่ใช่ทุกๆความถี่ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวดเพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้วค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวดทั้งตัวเหนึ่ยวนำความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดีจึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้เพื่อจะให้ขดลวดขดที่สองเกิดการเรโซแนนท์ พลังงานที่ป้อนให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกันกับความถี่ของขดลวดขดที่สองถ้าเปรียบเทียบกับการตีระฆังเวลาคุณตีระฆังด้วยไม้หรือฆ้อนถ้าคุณตึเร็วหรือช้าไปไม่สอดคล้องกับการสั่นของระฆังเสียงของระฆังจะไม่ดังกังวาน และดังไม่มากนักแต่ถ้าคุณตีระฆังอย่างต่อเนื่องให้มีความถี่เดียวกับการสั่นของระฆังจะได้เสียงที่กังวานและดังกระหึ่มอันนี้คือปรากฎการณ์เรโซแนนท์
|
|
|
|
siwapat
|
 |
« ตอบ #14 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 11:07:21 am » |
|
เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้นไม่ใช่ทุกๆความถี่ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวดเพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้วค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวดทั้งตัวเหนึ่ยวนำความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดีจึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้เพื่อจะให้ขดลวดขดที่สองเกิดการเรโซแนนท์ พลังงานที่ป้อนให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกันกับความถี่ของขดลวดขดที่สองถ้าเปรียบเทียบกับการตีระฆังเวลาคุณตีระฆังด้วยไม้หรือฆ้อนถ้าคุณตึเร็วหรือช้าไปไม่สอดคล้องกับการสั่นของระฆังเสียงของระฆังจะไม่ดังกังวาน และดังไม่มากนักแต่ถ้าคุณตีระฆังอย่างต่อเนื่องให้มีความถี่เดียวกับการสั่นของระฆังจะได้เสียงที่กังวานและดังกระหึ่มอันนี้คือปรากฎการณ์เรโซแนนท์
|
|
|
|
kittisap
|
 |
« ตอบ #15 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 12:20:37 pm » |
|
กระผม นายกิตติศัพท์ ถนัดงาน นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 มกราคม 2554 ที่ บ้าน ซอยพรธิสาร3 เวลา 12.20 น. ความคิดเห็นว่า เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
chaiwat
|
 |
« ตอบ #16 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 02:01:04 pm » |
|
กระผมนายชัยวัฒน์ คำพันเกิด คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาครุศาสตร์เครื่องกล รหัส 115011113029-2 sec.02 เลขที่ 3 ได้เข้ามาตอบกระทู้เมื่อวันที่ 9/01/2554 เวลา 14.00 น.ที่หอพักโอนิน5 มีความคิดเห็นว่า เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนท์เท่านั้นไม่ใช่ทุก ๆ ความถี่คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
Piyarat Mounpao
|
 |
« ตอบ #17 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 02:07:23 pm » |
|
นางสาวปิยะรัตน์ เหมือนเผ่า เลขที่ 42 รหัส 115210904050-9 กลุ่ม 02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาชีววิทยา สถานที่ บ้าน วันที่ 09/01/54 เวลา 14.07น. เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
TanGMe
|
 |
« ตอบ #18 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 02:37:44 pm » |
|
นางสาวภัทรพร ผลอำไพ รหัสนักศึกษา 115110417062-6 เลขที่ 9 sec 02 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 มกราคม 2554 เวลา 14.37 น. ที่หออยู่บ้านแมนชั่น เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนท์เท่านั้นไม่ใช่ทุก ๆ ความถี่คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
Sirilak
|
 |
« ตอบ #19 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 08:11:01 pm » |
|
นางสาวสิริลักษณ์ ศัพสุข เลขที่ใหม่30 sec02 รหัส115210417064-0 เรียนกับ อ.จรัส บุณยธรรมา วันที่9 มกราคม 2554 เวลา 20.10น.
ทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการ เรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
Mickey2010
|
 |
« ตอบ #20 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 09:26:16 pm » |
|
นางสาวปัทมา วงษ์แก้วฟ้า รหัส115310903038-3 เลขที่61 sec02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 มกราคม 2554 เวลา 21.05 น. สถานที่บ้านของตนเอง สรุปได้ว่า เทสลาคอยส์ เป็นหม้อแปลงที่อาศัยหลักการเรโซแนนท์ในวงจรไฟฟ้า โดยมีแกนเป็นอากาศ เทสลาคอยส์สามารถสร้างแรงดันไฟฟ้าได้สูงมากอย่างน่าตกใจ เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
Narumol
|
 |
« ตอบ #21 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 09:39:39 pm » |
|
น.ส.นฤมล กำลังฟู เลขที่26 รหัสนักศึกษา 115210417031-9 Sec.2 เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนท์ เท่านั้นไม่ใช่ทุก ๆ ความถี่คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้น จากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
Jantira
|
 |
« ตอบ #22 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 09:48:06 pm » |
|
นางสาวจันทิรา รัตนพันธุ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ sec.02 เลขที่64 รหัส115310903042-5 วันที่9ม.ค.2554 สถานที่Banoffee เวลา21.47น. เทสลาคอยส์เรียกว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงทำงานที่มีความถี่หนึ่งที่เกิดจากการเรโซ แนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนียวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนียวนำก้อคือขดลวด เพราะในขดลวดก็คือตัวนำอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่านจุดผ่านศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ความจุไฟฟ้าและตัวต้านทาน ความถี่ของของวงจรไฟฟ้า คำนวนได้จาก ค่ำของตัวเก็บประจุ และค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวด พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดขดที่สอง
|
|
|
|
wuttipong
|
 |
« ตอบ #23 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 11:56:33 pm » |
|
กระผมนายวุฒิพงษ์ สุขะ วิศวกรรมโยธา เลขที่ 23 รหัส 115330411029-5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9/01/54 เวลา 23:56 น. ที่หอพัก FourB5 สรุปได้ว่า เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการ เรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
mukkie
|
 |
« ตอบ #24 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 08:33:47 am » |
|
นางสาว ปาณิศา ไพรสยม sec.2 เลขที่73 รหัสนักศึกษา 115310903054-0 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติ ตอบกระทู้วันที่10ม.ค.54 เวลา8.30น. ที่บ้านตัวเอง เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดคือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้ เพื่อจะให้ขดลวดขดที่สองเกิดการเรโซแนนท์ พลังงานที่ป้อนให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกัน กับความถี่ของขดลวดขดที่สอง
|
|
|
|
sutin
|
 |
« ตอบ #25 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 11:50:20 am » |
|
นาย สุทิน ศรีวิลัย SEC 17 เลขที่ 25 รหัส 115340441222-9 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10/1/2554 ที่ บ.เจเอสออโตเวิร์ค เวลา 11.50 เทสลาคอยส์สามารถสร้างแรงดันไฟฟ้าได้สูงมากอย่างน่าตกใจ ! พวกสร้างภาพยนตร์วิทยาศาสตร์นิยมนำไปใช้ เมื่อพวกเขาต้องการให้ในภาพยนตร์ของเขามีฉากฟ้าผ่า หรือการสปาร์กของกระแสไฟฟ้า ยกตัวอย่างหนังเรื่องคนเหล็กภาค 2 (terminator II) ฉากเริ่มต้นที่หุ่นยนต์จากอนาคตเคลื่อนที่ผ่านมิติมาที่เวลาในปัจจุบัน ในเรื่องจะเห็นประกายไฟฟ้าสปาร์กขึ้นอย่างน่ากลัว และหุ่นยนต์ก็มาปรากฎกายขึ้น เบื้องหลังฉาก ผู้กำกับต้องไปติดต่อนักฟิสิกส์ ให้มาต่อเทสลาคอยส์ให้
|
|
|
|
sumintra
|
 |
« ตอบ #26 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 12:09:15 pm » |
|
นางสาวสุมินตรา งามสมบัติ เลขที่ 36 รหัส 115210452022-4 sec 2 ตอบกระทู้วันที่ 10 มกราคม 2554 เวลา 12.08 ที่หอพัก
มีความเห็นว่า...
คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ต่อขึ้นดังรูป ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
Jutamat
|
 |
« ตอบ #27 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 12:36:02 pm » |
|
นางสาวจุฑามาศ เชื้ออภัย รหัส115210904056-6 sec 02 เลขที่ 38 สาขาชีววิทยา เรียนกับ อ.จรัส บุญยธรรมา วันที่ 10/1/54 เวลา 12.36 น. คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ต่อขึ้นดังรูป ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
ดนุพร อ่อนศรี
|
 |
« ตอบ #28 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 12:54:55 pm » |
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมาเทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้าและความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น ความถี่ของวงจรไฟฟ้า คำนวณได้จาก ค่าของตัวเก็บประจุและค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวดที่หนึ่งจนความถี่เท่ากับอันที่สอง พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดที่สอง ทำให้มีแรงดันไฟฟ้าที่จะสปาร์กออกจากปลายขดลวด
|
|
|
|
amnuay cve2
|
 |
« ตอบ #29 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 02:35:07 pm » |
|
 กระผมนาย อำนวย เกิดโภคา นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธา SEC 17 เลขที่ 10 รหัส 115340411116-9 อาจารย์ผู้สอน ผศ. จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10/1/2554 ที่บ้าน เวลา 14.37 น.  เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนท์เท่านั้นไม่ใช่ทุก ๆ ความถี่ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น
|
|
|
|
|