Kunlaya
|
 |
« ตอบ #30 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 03:14:09 pm » |
|
นางสาวกัลยา เปรมเปรย SEC 02 เลขที่ 33 รหัส 115210441262-0 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมอุตสาหการ เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10/01/2554 ที่ วิทยะบริการ เวลา 15.06 น. มีความเห็นว่า เทสลาคอยส์สามารถสร้างแรงดันไฟฟ้าได้สูงมากอย่างน่าตกใจ ! พวกสร้างภาพยนตร์วิทยาศาสตร์นิยมนำไปใช้ เมื่อพวกเขาต้องการให้ในภาพยนตร์ของเขามีฉากฟ้าผ่า หรือการสปาร์กของกระแสไฟฟ้า ยกตัวอย่างหนังเรื่องคนเหล็กภาค 2 (terminator II) ฉากเริ่มต้นที่หุ่นยนต์จากอนาคตเคลื่อนที่ผ่านมิติมาที่เวลาในปัจจุบัน ในเรื่องจะเห็นประกายไฟฟ้าสปาร์กขึ้นอย่างน่ากลัว และหุ่นยนต์ก็มาปรากฎกายขึ้น เบื้องหลังฉาก ผู้กำกับต้องไปติดต่อนักฟิสิกส์ ให้มาต่อเทสลาคอยส์ให้
|
|
|
|
Nitikanss
|
 |
« ตอบ #31 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 04:01:54 pm » |
|
น.ส นิติการณ์ รัตนบุรี เลขที่ 71 sec 02 สาขา สถิติประยุกต์ วัน 10/01/54 เวลา 16.01 สถานที่ Banoffee เทสลาคอยส์เรียกว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงทำงานที่มีความถี่หนึ่งที่เกิดจากการเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนียวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนียวนำก้อคือขดลวด เพราะในขดลวดก็คือตัวนำอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่านจุดผ่านศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ความจุไฟฟ้าและตัวต้านทาน ความถี่ของของวงจรไฟฟ้า คำนวนได้จาก ค่ำของตัวเก็บประจุ และค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวด พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดขดที่สอง
|
|
|
|
soawanee
|
 |
« ตอบ #32 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 04:05:25 pm » |
|
นางสาวสาวณีย์อนันต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ sec.02 เลขที่72 รหัส1153109030532 ตอบกระทู้วันที่ 10ม.ค.2554 เวลา16. 16.03น.สถานที่ บ้าน
เทสลาคอยส์เรียกว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงทำงานที่มีความถี่หนึ่งที่เกิดจากการเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนียวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนียวนำก้อคือขดลวด เพราะในขดลวดก็คือตัวนำอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่านจุดผ่านศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ความจุไฟฟ้าและตัวต้านทาน ความถี่ของของวงจรไฟฟ้า คำนวนได้จาก ค่ำของตัวเก็บประจุ และค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวด พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดขดที่สอง
|
|
|
|
Bifern
|
 |
« ตอบ #33 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 09:17:37 pm » |
|
นางสาวชลทิพย์ เปาทอง รหัส115310903007-8 เลขที่48 sec02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 มกราคม 2554 เวลา 21.12 น. สถานที่ บ้านตัวเอง สรุปได้ว่า เทสลาคอยส์ คือ หม้อแปลงที่อาศัยหลักการเรโซแนนท์ในวงจรไฟฟ้า โดยมีแกนเป็นอากาศและสามารถสร้างแรงดันไฟฟ้าได้สูงมาก นิยมใช้สร้างภาพยนต์ หม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์ ไม่ใช่ทุกๆความถี่ คอยส์ที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน จึงจะเกิดความถี่เรโซแนนท์
|
|
|
|
jackmaco
|
 |
« ตอบ #34 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 10:00:55 pm » |
|
นายธีรพงษ์ ม้วนทอง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัสประจำตัว115340441211-2 ตอบกระทู้วันที่ 10/01/54 เวลา 22:00 น. สถานที่ หอพัก เอื้อมเดือน
สรุป : เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
dararat
|
 |
« ตอบ #35 เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 10:21:13 pm » |
|
นางสาวดารารัตน์ นิรันต์เรือง รหัส 115210904035-0 sec 02 เลขที่ 41 คณะวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี สาขาชีววิทยา เข้ามาตอบกระทู้เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2554 เวลา 22:21 ณ ห้องพักส่วนตัว ซ.zoom เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้าและความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น ความถี่ของวงจรไฟฟ้า คำนวณได้จาก ค่าของตัวเก็บประจุและค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวดที่หนึ่งจนความถี่เท่ากับอันที่สอง พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดที่สอง ทำให้มีแรงดันไฟฟ้าที่จะสปาร์กออกจากปลายขดลวด
|
|
|
|
mildfunta
|
 |
« ตอบ #36 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 09:33:51 am » |
|
นางสาวธัญลักษณ์ มิชัยยา เลขที่ 76 รหัส 1153109030607 sec 02 วันที่ 11 มกราคม 2554 เวลา 09.29 น. ณ หอในตึก 3 พลังงานของขดลวดที่สองมาจากขดลวดขดที่หนึ่งซึ่งวงจรของขดลวดขดที่หนึ่งประกอบด้วย 1.หม้อแปลงไฟแรงสูง 2.ความจุไฟฟ้า 3.ช่องว่าง(spark gap) 4.ขดลวด ทั้งหมดต่อขึ้นเป็นวงจรออสซิลเลตเมื่อเปิดไฟจ่ายกระแสให้กับวงจรไฟฟ้าหม้อแปลงไฟจะจ่ายไฟให้กับตัวเก็บประจุจนเต็มประจุจะวิ่งกลับไปมาระหว่างตัวเก็บประจุกับตัวเหนี่ยวนำ เมื่อมันมีพลังงานมากพอแล้ว ประจุจะสามารถวิ่งผ่านช่องว่างได้
|
|
|
|
nontapun
|
 |
« ตอบ #37 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 09:34:30 am » |
|
กระผม นายนนทพันธ์ เสนาฤทธิ์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 11 มกราคม 2554 ที่ บ้าน ซอยพรธิสาร3 เวลา 09.40 น. ความคิดเห็นว่า เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
Biwtiz
|
 |
« ตอบ #38 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 09:48:19 am » |
|
น.ส กชพรรณ นาสวาสดิ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติ รหัสนักศึกษา 115310903036-7 เลขที่ 53 sec 02 ตอบกระทู้วันที่ 11 ม.ค 54 เวลา 9.48 น. สถานที่ บ้านคลอง 6 สรุปได้ว่า เทสลาคอยส์ คือ หม้อแปลงที่อาศัยหลักการเรโซแนนท์ในวงจรไฟฟ้า โดยมีแกนเป็นอากาศและสามารถสร้างแรงดันไฟฟ้าได้สูงมาก นิยมใช้สร้างภาพยนต์ หม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์ ไม่ใช่ทุกๆความถี่ คอยส์ที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำตัวเก็บประจุและตัวต้านทานค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวดทั้งตัวเหนึ่ยวนำความจุไฟฟ้าและความต้านทานจึงจะเกิดความถี่เรโซแนนท์
|
|
|
|
Chantana
|
 |
« ตอบ #39 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 11:38:46 am » |
|
นางสาวฉันทนา ไกรสินธุ์ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec 02 เลขที่ 47 รหัสนักศึกษา 115310903002-9 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 11/01/2554 เวลา 11:37 สถานที่ Shooter Internet อ่านแล้วสรุปได้ว่า เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนนท์ ความหมายทางฟิสิกส์คือ หม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดจากเรโซแนนท์เท่านั้นไม่ใช้ทุกๆ ความถี่ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน ค่าของความเปนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนรอบเส้นผ่านศูนย์กลาง
|
|
|
|
Tarintip
|
 |
« ตอบ #40 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 11:41:59 am » |
|
นางสาวธารินทิพย์ วรรณกลาง นักศึกษาคณะวิทย่ศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 66 ตอบกระทู้วันที่11/01/54 เวลา 11.35 สถานที่ หอใน สรุปว่า เทสลาคอยส์ เป็นหม้อแปลงที่อาศัยหลักการเรโซแนนท์ในวงจรไฟฟ้า เทสลาคอยส์ ม่ชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนนท์ หม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่
|
|
|
|
nachaya
|
 |
« ตอบ #41 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 12:19:57 pm » |
|
ผมนาย ณชย ประสพเนตร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 เลขที่ 49 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 11 มกราคม 2554 ที่ บ้าน ซอยพรธิสาร3 เวลา 12.20 น. ความคิดเห็นว่า เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
heetoon
|
 |
« ตอบ #42 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 12:50:14 pm » |
|
นายราชันย์ บุตรชน นศ.วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411047-7 Sec 4 ตอบกระทู้วันที่ 11/01/54 เวลา 12.50 ณ. Four B4 เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนท์เท่านั้นไม่ใช่ทุก ๆ ความถี่ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบเส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น
|
|
|
|
werayut rmutt
|
 |
« ตอบ #43 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 01:50:29 pm » |
|
นายวีรยุทธ บุญใหญ่ รหัส115330411052-7 เลขที่ 45 sec.4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา เข้ามาตอบกระทู้เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2554 เวลา 13.47 น. ณ ตึกวิทยะบริการ
เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้าและความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น ความถี่ของวงจรไฟฟ้า คำนวณได้จาก ค่าของตัวเก็บประจุและค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวดที่หนึ่งจนความถี่เท่ากับอันที่สอง พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดที่สอง ทำให้มีแรงดันไฟฟ้าที่จะสปาร์กออกจากปลายขดลวด
|
|
|
|
namwhan
|
 |
« ตอบ #44 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 02:14:11 pm » |
|
นางสาวพรรณฐิณี โสภาวนัส คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ sec.02 เลขที่50 รหัส1153109030334 ตอบกระทู้วันที่ 11 มกราคม2554 เวลา 14.14น.เทสลาคอยส์เรียกว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงทำงานที่มีความถี่หนึ่งที่เกิดจากการเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนียวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนียวนำก้อคือขดลวด เพราะในขดลวดก็คือตัวนำอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่านจุดผ่านศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ความจุไฟฟ้าและตัวต้านทาน ความถี่ของของวงจรไฟฟ้า คำนวนได้จาก ค่ำของตัวเก็บประจุ และค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวด พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดขดที่สอง
|
|
|
|
rungniran
|
 |
« ตอบ #45 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 02:37:42 pm » |
|
กระผมนายรุ่งนิรันดร์ สอนจันทร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา115330411005-5 กลุ่ม53341cve sec04 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จรัส บุณยธรรมา ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 11/01/2554 ที่สวนสุทธิพันธ์ เวลา2.37 น. ได้มีข้อคิดเห็นในเรื่องนี้ว่า เทสลาคอยส์หรือหม้อแปลงแบบเรโซแนท์นั้นเป็นหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่ทำให้เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ โดยกาทำงานนั้นจะทำการป้อนพลังงานให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกันกับความถี่ของขดลวดขดที่หนึ่ง และต้องเป็นการป้อนพลังงานที่มีความต่อเนื่องและมีความถี่เท่ากัน ถึงจะทำให้เกิดการเรโซเเนนท์ได้ 
|
|
|
|
waranya
|
 |
« ตอบ #46 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 02:47:43 pm » |
|
นางสาววรัญญา สิงห์ป้อม sec.02 เลขที่69 รหัสนักศึกษา 115310903049-0 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติ วันที่11/01/54 เวลา 14.45 น. ณ หอศุภมาศ
เทสลาคอยส์เรียกว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงทำงานที่มีความถี่หนึ่งที่เกิดจากการเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนียวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนียวนำก้อคือขดลวด เพราะในขดลวดก็คือตัวนำอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่านจุดผ่านศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ความจุไฟฟ้าและตัวต้านทาน ความถี่ของของวงจรไฟฟ้า คำนวนได้จาก ค่ำของตัวเก็บประจุ และค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวด พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดขดที่สอง
|
|
|
|
rungsan
|
 |
« ตอบ #47 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 03:03:05 pm » |
|
นาย รังสรรค์ พัธกาล 115340441243-5 sec 17 เลขที่32 วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ วันที่ 11/1/54 เวลา 15.00 น. สถานที่หอพักโอนิน เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัว เหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้าและความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น ความถี่ของวงจรไฟฟ้า คำนวณได้จาก ค่าของตัวเก็บประจุและค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวดที่หนึ่งจนความถี่เท่ากับอันที่สอง พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดที่สอง ทำให้มีแรงดันไฟฟ้าที่จะสปาร์กออกจากปลายขดลวด
|
|
|
|
pitak
|
 |
« ตอบ #48 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 03:05:14 pm » |
|
นายพิทักษ์ นงนวล รหัส 115330411018-8 sec 04 เลขที่ 15 ตอบกระทู้ที่ สวนสุทธิพันธ์ วันที่ 11/01/2554 เวลา 15.05 น. สรุปได้เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้าและความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น ความถี่ของวงจรไฟฟ้า คำนวณได้จาก ค่าของตัวเก็บประจุและค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวดที่หนึ่งจนความถี่เท่ากับอันที่สอง พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดที่สอง ทำให้มีแรงดันไฟฟ้าที่จะสปาร์กออกจากปลายขดลวด
|
|
|
|
chinnapot
|
 |
« ตอบ #49 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 03:09:14 pm » |
|
นายชินพจน์ เดชเกษรินทร์ คณะ วิศวกรรมอุตสาหการ-การจักการ รหัส 115340441238-5 sec17 วันที่11/01/54 เวลา15.09 ณ ทรัพย์ถาวรอพาร์ทเม้นท์
เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้าและความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น ความถี่ของวงจรไฟฟ้า คำนวณได้จาก ค่าของตัวเก็บประจุและค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวดที่หนึ่งจนความถี่เท่ากับอันที่สอง พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดที่สอง ทำให้มีแรงดันไฟฟ้าที่จะสปาร์กออกจากปลายขดลวด
|
|
|
|
Nhamtoey
|
 |
« ตอบ #50 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 03:19:20 pm » |
|
นางสาวเรวดี จันท้าว ภาควิชาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411006-3 sec 04 เลขที่6 ตอบกระทู้เมื่อวันที่ 11/01/2554 เวลา 15.19น. ที่ห้องสมุดมทร.ธัญบุรี เทสลาคอยสื เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลง หม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้นไม่ใช่ทุกความถี่คอนส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้า เป็นขดลวดที่ 2 สร้าขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน การเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยุ่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับจำนวนรอบ เส้นผ่านศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำความจุไฟฟ้า และความต้านทานต้องมีค่าพอดีจึงทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
ronachai
|
 |
« ตอบ #51 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 03:23:28 pm » |
|
นายรณชัย รุกขวัฒน์ รหัส115330411002-2 เลขที่2 sec.4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา เข้าตอบกระตู้เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2554 เวลา 15.22 น. ณ ตึกวิทยะบริการ
เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้าและความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น ความถี่ของวงจรไฟฟ้า คำนวณได้จาก ค่าของตัวเก็บประจุและค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวดที่หนึ่งจนความถี่เท่ากับอันที่สอง พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดที่สอง ทำให้มีแรงดันไฟฟ้าที่จะสปาร์กออกจากปลายขดลวด
|
|
|
|
aecve
|
 |
« ตอบ #52 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 03:49:02 pm » |
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 11 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 15.50 น มีความเห็น เทสลาบอล เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้เพื่อจะให้ขดลวดขดที่สองเกิดการเรโซแนนท์ พลังงานที่ป้อนให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกัน กับความถี่ของขดลวดขดที่สอง ถ้าเปรียบเทียบกับการตีระฆัง เวลาคุณตีระฆังด้วยไม้หรือฆ้อนถ้าคุณตึเร็วหรือช้าไปไม่สอดคล้องกับการสั่นของระฆัง เสียงของระฆังจะไม่ดังกังวาน และดังไม่มากนัก แต่ถ้าคุณตีระฆังอย่างต่อเนื่องให้มีความถี่เดียวกับการสั่นของระฆัง จะได้เสียงที่กังวานและดังกระหึ่ม อันนี้คือปรากฎการณ์เรโซแนนท์
|
|
|
|
IIKWANGSTSTII
|
 |
« ตอบ #53 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 05:15:57 pm » |
|
นางสาวกิ่งกาญจน์ แสนคำ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec 02 เลขที่ 54 รหัส 115310903031-8 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 11/01/2554 เวลา 17.14 สถานที่ Shooter Internet เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดคือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้ เพื่อจะให้ขดลวดขดที่สองเกิดการเรโซแนนท์ พลังงานที่ป้อนให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกัน กับความถี่ของขดลวดขดที่สอง
|
|
|
|
bobo
|
 |
« ตอบ #54 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 05:18:06 pm » |
|
นางสาวสุนิสา หมอยาดี sec.02 เลขที่74 รหัสนักศึกษา 115310903055-7 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ วันที่11/01/54 เวลา 17.17 น. ณ บ้าน
เทสลาคอยส์เรียกว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงทำงานที่มีความถี่หนึ่งที่เกิดจากการเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนียวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนียวนำก็คือขดลวด เพราะในขดลวดก็คือตัวนำอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่านจุดผ่านศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ความจุไฟฟ้าและตัวต้านทาน
|
|
|
|
Penprapa
|
 |
« ตอบ #55 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 05:49:55 pm » |
|
นางสาวเพ็ญประภา สุเพียร เลขที่ 40 รหัส 115210904029-3 วันที่ 11 มค 54 เวลา 17.48 น ณ วิทยะบริการ สรุปว่า เทสลาคอยส์ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น โดยทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้ การทำงาน เพื่อจะให้ขดลวดขดที่สองเกิดการเรโซแนนท์ พลังงานที่ป้อนให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกัน กับความถี่ของขดลวดขดที่สอง
|
|
|
|
pool
|
 |
« ตอบ #56 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 08:42:44 pm » |
|
นางสาวดาวประกาย แก้วเรือง นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเคมีสิ่งทอ รหัส 115210452059-6 SEC 2 เลขที่ 32 เรียนกับ อาจารย์จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้ วันที่ 11 มกราคม 2554 เวลา 20.42 น. ที่บ้าน มีความเห็นในกระทู้ว่า เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้เพื่อจะให้ขดลวดขดที่สองเกิดการเรโซแนนท์ พลังงานที่ป้อนให้กลับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกัน กับความถี่ของขดลวดขดที่สอง ถ้าเปรียบเทียบกับการตีระฆัง เวลาคุณตีระฆังด้วยไม้หรือฆ้อนถ้าคุณตึเร็วหรือช้าไปไม่สอดคล้องกับการสั่นของระฆัง เสียงของระฆังจะไม่ดังกังวาน และดังไม่มากนัก แต่ถ้าคุณตีระฆังอย่างต่อเนื่องให้มีความถี่เดียวกับการสั่นของระฆัง จะได้เสียงที่กังวานและดังกระหึ่ม อันนี้คือปรากฎการณ์เรโซแนนท์
|
|
|
|
alicenine
|
 |
« ตอบ #57 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 08:46:52 pm » |
|
นายเลิศศักดิ์ ศัลยวิเศษ นักศึกษาคณะวิศกรรมศาสตร์ สาขาเคมีสิ่งทอ รหัส 115210452021-6 เลขที่ 30
ตอบกระทู้ เมื่อ 11/01/54 เวลา 20.46 น. ที่ หอพัก
คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ต่อขึ้นดังรูป ตัว เหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
Kotchapan
|
 |
« ตอบ #58 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 09:03:07 pm » |
|
นาย คชพันธ์ พงษ์ไพร นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา 115330411048-5 เลขที่ 41 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 11/01/2554 สถานที่ กิตติพงษ์แมนชั่น เวลา 21.04 น. เทสลาคอยส์ เป็นหม้อแปลงที่อาศัยหลักการเรโซแนนท์ในวงจรไฟฟ้า โดยมีแกนเป็นอากาศ เทสลาคอยส์สามารถสร้างแรงดันไฟฟ้าได้สูงมาก การทำงานเทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ หม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนึ่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
|
|
|
|
pongpat
|
 |
« ตอบ #59 เมื่อ: มกราคม 11, 2011, 09:05:35 pm » |
|
กระผมนายพงษ์พัฒน์ น้อยโพธิ์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 เลขที่ 51 รหัส 115330441207-1 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมาเข้ามาตอบกระทู้วันที่ 11 มกราคม 2554 ที่ บ้าน เวลา 21.05 น
เทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้าและความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น ความถี่ของวงจรไฟฟ้า คำนวณได้จาก ค่าของตัวเก็บประจุและค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวดที่หนึ่งจนความถี่เท่ากับอันที่สอง พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดที่สอง ทำให้มีแรงดันไฟฟ้าที่จะสปาร์กออกจากปลายขดลวด
|
|
|
|
|