mypomz
|
 |
« ตอบ #120 เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 09:41:24 am » |
|
นายนพรัตน์ โตอิ่ม คณะวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411040-2 เลขที่ 33 sec 4 ตอบกระทู้วันที่ 21 ม.ค. 54 เวลา 9.41 สถานที่ หอพัก
เมื่อกดปุ่ม "Reset" ตัวเก็บประจุจะได้รับการชาร์จประจุโดยแผ่นบนจะเป็นประจุบวก และแผ่นล่างจะเป็นประจุลบ หลังจากที่คลิกปุ่ม "Start" สวิทซ์จะเปลี่ยนตำแหน่งไปอยู่อีกข้างหนึ่ง การสั่นแกว่งของประจุไฟฟ้าเริ่มเกิดขึ้น ถ้ากดปุ่ม "Pause /Resume" การสั่นแกว่งจะหยุดลงตรงตำแหน่งนั้น และถ้ากดปุ่มนี้ซ้ำ การสั่นแกว่งจะดำเนินต่อไป ถ้ากดปุ่ม "Slow motion (10x)" การสั่นแกว่งจะช้าลง 10 เท่า และถ้ากด 100X จะช้าลง 100 เท่า
|
|
|
|
rungarun
|
 |
« ตอบ #121 เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 10:48:10 pm » |
|
นายรุ่งอรุณ แย้มประดิษฐ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาอุตสาหการ-การจัดการ sec 17 รหัสประจำตัว 115340441246-8 เลขที่ 36 วันที่ 22/01/54 เวลา 22.48 น.การทดลองนี้ เป็นวงจรไฟฟ้าสลับแบบง่าย ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำเมื่อ C จ่ายไฟให้ L Lจะแสดงอำนาจของสนามแม่เหล็กออกมา เมื่อประจุ C น้อยลง สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะยุบตัวกลับ ตัดผ่านกับขดลวด เกิดเป็นกระแสไฟฟ้าไปชาร์จไฟใน C อีกครั้ง
|
|
|
|
satawat
|
 |
« ตอบ #122 เมื่อ: มกราคม 23, 2011, 06:31:35 pm » |
|
กระผม นาย ศตวรรษ รัตนภักดี นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ เลขที่ 34 SEC.02 รหัสประจำตัว 115210441263-8 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2554 เวลา 18.31 สถานที่บ้าน มีความเห็นว่า เป็นวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ เมื่อกดปุ่ม start ตัวจ่ายกระแสไฟฟ้าที่ถูกชาร์จจนเต็มหรือ C จะทำการจ่ายไฟให้ L และจากนั้น L จะแสดงอำนาจของสนามแม่เหล็กออกมา จึงทำให้เกิดการสั่นแกว่งของประจุทางไฟฟ้าขึ้น ซึ่งจะเห็นการเคลื่อนที่ของทิศทางของสนามไฟฟ้า และ สนามแม่เหล็กของตัวเหนี่ยวนำ วิ่งสลับกันไปมาระหว่างกันตรงกราฟ และเมื่อประจุไฟฟ้า C ลดน้อยลง จะมีผลทำให้สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะมีการยุบตัวกลับและจะตัดผ่านกับขดลวด จึงทำให้เกิดเป็นกระแสไฟฟ้าไปชาร์จไฟในประจุ C อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งจะวนเช่นนี้ไปเรื่อยๆ
|
|
|
|
chatchai
|
 |
« ตอบ #123 เมื่อ: มกราคม 26, 2011, 02:10:36 pm » |
|
กระผม นาย ฉัตรชัย กล่อมเกลี้ยง นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441232-8 เลขที่ 28 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 26 เดือน มกราคม พศ.2554 เวลา 14.10 น. สถานที่ หอพัก 4B
สรุปว่า
การสั่นแกว่งของประจุไฟฟ้า ในวงจรออสซิลเลเตอร์ ภายในวงจรประกอบด้วย ตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ เมื่อคุณกดปุ่ม "Reset" ตัวเก็บประจุจะได้รับการชาร์จประจุจนเต็ม โดยแผ่นบนจะเป็นประจุบวก และแผ่นล่างจะเป็นประจุลบ ในการทดลองนี้ เป็นวงจรไฟฟ้าสลับแบบง่าย ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ เมื่อ c จ่ายไฟให้ L L จะแสดงอำนาจสนามแม่เหล็กออกมา เมื่อประจุไฟใน c น้อยลง สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น จะยุบตัวกลับ ตัดผ่านกับขดลวด เกิดกระแสไฟฟ้าไปชาร์จใน c อีกครั้ง วนเวียนเช่นนี้ไปเรื่อยๆ
|
|
|
|
m_japakiya
|
 |
« ตอบ #124 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 11:42:13 am » |
|
นาย มูฮำหมัดนาวี จะปะกียา เลขที่ 2 sec 17 รหัส 115340411104-5 คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชา วิศวกรรมโยธา ณ บ้าน จรัญสนิทวงศ์ 31-01-54 เวลา 11.42 น. เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เป็นวงจรไฟฟ้ากระแสสลับแบบง่าย ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ เมื่อกดปุ่ม start ตัวจ่ายกระแสไฟฟ้าที่ถูกชาร์จจนเต็มหรือ C จะทำการจ่ายไฟให้ L และจากนั้น L จะแสดงอำนาจของสนามแม่เหล็กออกมา จึงทำให้เกิดการสั่นแกว่งของประจุทางไฟฟ้าขึ้น ซึ่งจะเห็นการเคลื่อนที่ของทิศทางของสนามไฟฟ้า และ สนามแม่เหล็กของตัวเหนี่ยวนำ วิ่งสลับกันไปมาระหว่างกันตรงกราฟ และเมื่อประจุไฟฟ้า C ลดน้อยลง จะมีผลทำให้สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะมีการยุบตัวกลับและจะตัดผ่านกับขดลวด จึงทำให้เกิดเป็นกระแสไฟฟ้าไปชาร์จไฟในประจุ C อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งจะวนเช่นนี้ไปเรื่อยๆ
|
|
|
|
suradet phetcharat
|
 |
« ตอบ #125 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 03, 2011, 12:11:53 pm » |
|
นายสุรเดช เพ็ชรรัตน์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา CVE2 Sec17 เลขที่ 9 รหัส 115340411115-1 ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 12.12 น.Office สำนักงานบริษัทไทยวัฒน์ การสั่นแกว่งของประจุไฟฟ้า ในวงจรออสซิลเลเตอร์ ภายในวงจรประกอบด้วย ตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ ในห้องทดลองนี้ เป็นวงจรไฟฟ้าสลับแบบง่าย ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ เมื่อ C จ่ายไฟให้ L Lจะแสดงอำนาจของสนามแม่เหล็กออกมา เมื่อประจุ C น้อยลง สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะยุบตัวกลับ ตัดผ่านกับขดลวด เกิดเป็นกระแสไฟฟ้าไปชาร์จไฟใน C อีกครั้ง วนเช่นนี้
|
|
|
|
chaiyun
|
 |
« ตอบ #126 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 05:20:34 pm » |
|
นายชัยยันต์ นุยืนรัมย์ นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441215-3 เลขที่ 21เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 4/02/54 เวลา 17:19น. สถานที่ ห้องพักนวนคร การสั่นแกว่งของประจุไฟฟ้า ในวงจรออสซิลเลเตอร์ ภายในวงจรประกอบด้วย ตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ ในห้องทดลองนี้ เป็นวงจรไฟฟ้าสลับแบบง่าย ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ เมื่อ C จ่ายไฟให้ L Lจะแสดงอำนาจของสนามแม่เหล็กออกมา เมื่อประจุ C น้อยลง สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะยุบตัวกลับ ตัดผ่านกับขดลวด เกิดเป็นกระแสไฟฟ้าไปชาร์จไฟใน C อีกครั้ง วนเช่นนี้
|
|
|
|
watit
|
 |
« ตอบ #127 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 03:50:27 pm » |
|
กระผมชื่อนายวาทิต บุพศิริ นักศึกษา CVE2 สมทม SEC 17 รหัส 115340411106-0 เข้ามาตอบเมื่อ 5/02 /2011 เวลา3.50pm ที31/1859 มบ.พฤกษา12-รังสิตคลองสาม
ทิศทางของสนามไฟฟ้า (สีแดง) และสนามแม่เหล็กของตัวเหนี่ยวนำ (สีน้ำเงิน) ปรากฎอยู่ในห้องทดลอง ความหนาแน่นของเส้นแรง แสดงถึงความเข้มของสนาม ณ. บริเวณนั้นๆ ทิศทางของกระแสดูได้จากหัวลูกศร กรอบสีดำด้านล่างซ้าย คือนาฬิกาดิจิตอล แสดงเวลาเริ่มต้นการออสซิลเลส ด้านล่างของนาฬิกาแสดงคาบของการออสซิลเลส ปุ่มทางขวาด้านล่าง 2 ปุ่มมีหน้าที่ดังนี้ -ปุ่มโวลเตจ กับแอมแปร์ แสดงแรงดันไฟฟ้า U (สีน้ำเงิน) และกระแสไฟฟ้า I (สีแดง) แปรผันกับเวลา -ปุ่มพลังงาน (Energy) แสดงการเปลี่ยนแปลงระหว่างพลังงานแม่เหล็กกับพลังงานไฟฟ้า
|
|
|
|
thabthong
|
 |
« ตอบ #128 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 06:44:32 pm » |
|
กระผมนาย รัตชานนท์ ทับทอง นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441203-0 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 18.44 น. ที่วิทยะ สรุปว่า
การสั่นแกว่งของประจุไฟฟ้า ในวงจรออสซิลเลเตอร์ ภายในวงจรประกอบด้วย ตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ เมื่อคุณกดปุ่ม "Reset" ตัวเก็บประจุจะได้รับการชาร์จประจุจนเต็ม โดยแผ่นบนจะเป็นประจุบวก และแผ่นล่างจะเป็นประจุลบ ในการทดลองนี้ เป็นวงจรไฟฟ้าสลับแบบง่าย ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ เมื่อ c จ่ายไฟให้ L L จะแสดงอำนาจสนามแม่เหล็กออกมา เมื่อประจุไฟใน c น้อยลง สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น จะยุบตัวกลับ ตัดผ่านกับขดลวด เกิดกระแสไฟฟ้าไปชาร์จใน c อีกครั้ง วนเวียนเช่นนี้ไปเรื่อยๆ
|
|
|
|
Kitiwat
|
 |
« ตอบ #129 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 01:54:45 am » |
|
นายกิติวัฒน์ ศรประสิทธิ์ เลขที่ 24 รหัส 115330411030-3 วิศวกรรมโยธา sec 4
เมื่อ c จ่ายไฟให้ L L จะแสดงอำนาจสนามแม่เหล็กออกมา เมื่อประจุไฟใน c น้อยลง สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น จะยุบตัวกลับ ตัดผ่านกับขดลวด เกิดกระแสไฟฟ้าไปชาร์จใน c อีกครั้ง วนเวียนเช่นนี้ไปเรื่อยๆๆ ในการทดลองนี้ เป็นวงจรไฟฟ้าสลับแบบง่าย ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ
|
|
|
|
NISUMA
|
 |
« ตอบ #130 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 11:43:24 am » |
|
นางสาวนิสุมา พรมนวล รหัส115110901010-8 เลขที่8 sec02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาคณิตศาสตร์
ในห้องทดลองนี้ เป็นวงจรไฟฟ้าสลับแบบง่าย ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ เมื่อ C จ่ายไฟให้ L Lจะแสดงอำนาจของสนามแม่เหล็กออกมา เมื่อประจุ C น้อยลง สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะยุบตัวกลับ ตัดผ่านกับขดลวด เกิดเป็นกระแสไฟฟ้าไปชาร์จไฟใน C อีกครั้ง วนเช่นนี้
|
|
|
|
Chanon_non26
|
 |
« ตอบ #131 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:42:42 pm » |
|
นายชานนท์ พงษ์ไพโรจน์ 115310903029-2 เลขที่ 52 sec 3 ; วันทิ่ 10.2.54 เวลา15.42 ที่วิทยบริการ ในห้องทดลองนี้ เป็นวงจรไฟฟ้าสลับแบบง่าย ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ เมื่อ C จ่ายไฟให้ L Lจะแสดงอำนาจของสนามแม่เหล็กออกมา เมื่อประจุ C น้อยลง สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะยุบตัวกลับ ตัดผ่านกับขดลวด เกิดเป็นกระแสไฟฟ้าไปชาร์จไฟใน C อีกครั้ง วนเช่นนี้
|
|
|
|
อภิรักษ์
|
 |
« ตอบ #132 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 01:15:36 am » |
|
นายอภิรักษ์ มีศิลป์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10 กุมภาพันธ์ เวลา 01:15 น. ที่หอพัก AP แมนชั่น มีความคิดเห็นว่า ในห้องทดลองนี้ เป็นวงจรไฟฟ้าสลับแบบง่าย ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ เมื่อ C จ่ายไฟให้ L Lจะแสดงอำนาจของสนามแม่เหล็กออกมา เมื่อประจุ C น้อยลง สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะยุบตัวกลับ ตัดผ่านกับขดลวด เกิดเป็นกระแสไฟฟ้าไปชาร์จไฟใน C อีกครั้ง วนเช่นนี้
|
|
|
|
|