กรกฎาคม 02, 2022, 01:18:42 pm
ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
1 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
1 เดือน
ตลอดกาล
เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว
:
หน้าแรก
ช่วยเหลือ
ค้นหา
ปฏิทิน
สมาชิก
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
RmutPhysics.com
>
หมวดหมู่ทั่วไป
>
ดาราศาสตร์
>
สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO)
หน้า: [
1
]
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
ผู้เขียน
หัวข้อ: สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO) (อ่าน 1406 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO)
«
เมื่อ:
กันยายน 01, 2009, 12:03:40 pm »
สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO)
ที่มา เว็ป atcloud
โดยคุณ alaska
1 ใน 50 สิ่งประดิษฐ์ยอดเยี่ยมของโลก LRO ยานสำรวจดวงจันทร์ที่ไม่ต้องใช้มนุษย์ควบคุม ผลงานของ NASA ที่จะพาหมนุษย์กลับไปเยือนดวงจันทร์อีกครั้งภายในปี 2020
สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO).jpg
(18.68 KB, 425x239 - ดู 292 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO)
«
ตอบ #1 เมื่อ:
กันยายน 01, 2009, 12:04:34 pm »
นิตยสาร Time ได้จัดอันดับให้ยาน Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO) เป็น 1 ใน 50 สิ่งประดิษฐ์ยอดเยี่ยมของโลก LRO เป็นยานสำรวจดวงจันทร์ที่ไม่ต้องใช้มนุษย์ควบคุม ผลงานขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐ (NASA) มันจะถูกส่งไปสำรวจดวงจันทร์ในเดือนกุมภาพันธ์ 2009 โดยมีภารกิจสำคัญคือ สำรวจน้ำแข็งในบริเวณขั้วใต้ของดวงจันทร์โดยใช้ดาวเทียมแอลครอส (Lunar CRater Observation and Sensing Satellite : LCROSS) ที่นำไปด้วย และถ่ายภาพพื้นผิวดวงจันทร์ ทำแผนที่สามมิติความละเอียดสูง รวมทั้งศึกษาสารพัดเรื่องทั้งอุณหภูมิ พื้นผิว บรรยากาศต่างๆ ของดวงจันทร์ ผลกระทบจากรังสีที่มีต่อมนุษย์ จุดตั้งฐานที่เหมาะสม และรูปแบบหุ่นยนต์ที่เหมาะสมกับการทำงานบนดวงจันทร์ พร้อมเสาะหาสถานที่ลงจอดอันเหมาะสมสำหรับยานอวกาศที่จะมีมนุษย์เดินทางไปด้วย เพื่อเป็นการนำร่องนำไปสู่การส่งมนุษย์ตามไปในปี 2020 แล้วตั้งสถานีประจำอยู่ที่นั่นเพื่อไปตั้งฐานและใช้เป็นจุดเชื่อมไปสู่การสำรวจอวกาศไกลออกไป
นับเป็นครั้งแรกในรอบทศวรรษที่ NASA หันมาให้ความสนใจกับดวงจันทร์ใหม่
เยือนดวงจันทร์ ใครๆก็ไปได้ แม้ตัวไม่ได้ไป ได้ฝากชื่อไปเยือนก็ยังดี เมื่อ NASA เปิดโอกาสให้คุณส่งชื่อตัวเองไปกับยานสำรวจดวงจันทร์ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO) และคุณยังจะได้ Certificate ไว้เป็นที่ระลึกอีกด้วย
สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO).jpg
(18.68 KB, 425x239 - ดู 259 ครั้ง.)
Certificate.jpg
(214.9 KB, 500x372 - ดู 279 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO)
«
ตอบ #2 เมื่อ:
กันยายน 01, 2009, 12:05:17 pm »
กำหนดเดิมของการเดิมของได้กำหนดไว้ในปลายปี 2551 แต่ก็ได้เลื่อนออกมา จนกระทั่งถึงวันที่ 18 มิถุนายน 2009 ซึ่งตรงกับเช้ามืดวันศุกร์ที่ 19 ตามเวลาประเทศไทยจึงได้ถึงฤกษ์ถูกปล่อยออกจากฐานที่สถานีแห่งหนึ่งของฐานทัพอากาศบนแหลมคานาเวอรัล ด้วยจรวดแอตลาส-5 (Atlas V rocket) ที่บรรทุกยานสำรวจดวงจันทร์สองลำคือ LRO และยานลำเล็กกว่าซึ่งมีชื่อว่า LCROSS คาดว่ายานทั้งสองลำจะเดินทางถึงดวงจันทร์ใน 4 วันข้างหน้าโดยยานถูกกำหนดให้ลงจอดในหลุมบนดวงจันทร์ที่อยู่ ใกล้กับบริเวณส่วนขั้วโลกใต้ของดวงจันทร์
ยานสำรวจดวงจันทร์ The Lunar Reconnaissance Orbiter ซึ่งมักเรียกย่อๆ ว่า แอลอาร์โอ (LRO)เป็นชื่อยานอวกาศสำรวจดวงจันทร์ ที่มีจุดหมายในการสำรวจทรัพยากร และทำแผนที่พื้นผิวดวงจันทร์แบบ 3 มิติที่มีความถูกต้องสูง เพื่อหาสถานที่ลงจอดอันเหมาะสมสำหรับยานอวกาศที่จะมีมนุษย์เดินทางไปด้วยในอนาคต เน้นเข้าสำรวจหลุมที่ลึกที่สุดบนดวงจันทร์ รวมทั้งบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึงและบริเวณที่อยู่ในเงามืดตลอดเวลา และก็จะสำรวจเพิ่มเติมในบริเวณที่ภารกิจก่อนหน้าได้เคยสำรวจไปบ้างแล้ว
ยานสำรวจดวงจันทร์ The Lunar Reconnaissance Orbiter.jpg
(130.7 KB, 400x500 - ดู 313 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO)
«
ตอบ #3 เมื่อ:
กันยายน 01, 2009, 12:05:39 pm »
LRO ได้เข้าสู่วงโคจรรอบดวงจันทร์เมื่อเวลา 17.27 น. ของวันที่ 23 มิถุนายน 2009 ที่ผ่านมา ที่ดวงจันทร์แรงโน้มถ่วงทำให้ยานโคจรรอบดวงจันทร์เป็นวงรี หลังจากนั้นศูนย์ควบคุมจากโลกจะทำการปรับวงโคจรของยานให้ยานโคจรรอบดวงจันทร์เป็นวงกลมที่ความสูง 50 กิโลเมตร และด้วยระนาบวงโคจรทำมุมเกือบตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตร จะช่วยทำให้ยานสามารถโคจรผ่านขั้วทั้งสองของดวงจันทร์ นี่ทำให้ยานสำรวจสภาพแวดล้อมทางรังสีของดวงจันทร์ได้ทั่วถึง
และเมื่อ LRO เข้าสู่วงโคจรชั้นในของดวงจันทร์แล้ว ตั้งแต่วันที่ 27 มิ.ย. เป็นต้นไป เครื่องมือและอุปกรณ์ที่บรรทุกไปกับยาน จะเริ่มเชื่อมต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และดำเนินการสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ เช่น กล้อง เครื่องตรวจจับด้วยอินฟราเรด และเครื่องวัดความสูงด้วยแสงเลเซอร์ สำหรับกล้องที่ อยู่ ในยาน LRO จะมีความสามารถในการมองเห็นวัตถุที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเพียง 50 เซนติเมตร อุปกรณ์เหล่านี้สามารถสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ใด้ภายใต้สเปกตรัมที่ ความยาวคลื่นต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลภาพถ่ายภูมิประเทศบนดวงจันทร์ในแบบ 3 มิติ ที่ละเอียดมากยิ่งขึ้น และยังใช้หาอุปกรณ์ที่ยานอพอลโลทิ้งไว้บนดวงจันทร์ในระหว่างปี 2512-2515 ได้อีกด้วย นอกจากนี้เพื่อความปลอดภัยของนักบินอวกาศจาก Cosmic Ray จึงได้เตรียมพร้อมอุปกรณ์กล้องโทรทรรศน์ซึ่งห่อหุ้มด้วยหนังมนุษย์เทียม เพื่อทำความเข้าใจกับผลของรังสีสะท้อนจากดวงจันทร์ที่อาจจะส่งผลกระทบต่อมนุษย์
มาที่ดาวเทียม LCROSS (Lunar CRater Observation and Sensing Satellite) เป็นปฏิบัติการที่จะชนพื้นผิวดวงจันทร์ในการสำรวจหาน้ำแข็ง ซึ่งจะติดอยู่กับ LRO ไปจนถึงเดือนตุลาคม ก่อนที่จะแยกออกไปสำรวจดวงจันทร์ในระดับที่มีความลึกซึ้งยิ่งขึ้น
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO)
«
ตอบ #4 เมื่อ:
กันยายน 01, 2009, 12:06:11 pm »
ภาพ the LCROSS spacecraft and its Centaur booster rocket. The Centaur will crash into the Moon
ภาพ the LCROSS spacecraft and its Centaur booster rocket. The Centaur will crash into the Moon.jpg
(143.29 KB, 500x400 - ดู 264 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO)
«
ตอบ #5 เมื่อ:
กันยายน 01, 2009, 12:07:29 pm »
LCROSS จะมีจรวดที่เรียกว่าเซนทอร์ (Centaur) ซึ่งหนัก 2 เมตริกตัน ประกบติดไปด้วย ซึ่งแยกตัวออกจาก LCROSS พุ่งชนดวงจันทร์ในบริเวณหลุมอุกกาบาตที่ขั้วใต้ พิสูจน์ว่าหลุ่มลึกที่คาดว่าแสงอาทิตย์ไม่สามารถส่องถึงก้นหลุมมานานถึง 2,000 ล้านปีอาจจะมีน้ำซึ่งหากมีจริงเเล้ว แหล่งน้ำที่นี่ก็จะเป็นทรัพยากรที่สำคัญสำหรับโครงการสำรวจดวงจันทร์ด้วยมนุษย์ในระยะยาว ช่วยลดภาระการบรรทุกน้ำและเชื้อเพลิงจากโลก
และผลจากแรงระเบิดจากการกระแทกพื้นผิวด้วยอัตราเร็วประมาณ 2.5 กิโลเมตรต่อวินาทีจะทำให้ฝุ่นผงซึ่งประกอบด้วยดินและหินกว่า 350 ตันของพื้นผิวดวงจันทร์ลอยขึ้นมาบนท้องฟ้าสูงถึง 6 ไมล์ ซึ่งถ้าหากมีน้ำแข็งอยู่ในหลุมลึกแห่งนี้ ก็คาดว่าสมารถตรวจจับร่องรอยของน้ำจากการระเหยเป็นไอออกมาได้ และเมื่อปล่อยจรวจออกไปแล้ว LCROSS จะบินฝ่าเข้าไปในหมอกที่ฟุ้งขึ้นมาแล้วทำการวัดค่าต่างๆ รวมทั้งสัญญาณที่อาจช่วยพิสูจน์ยืนยันได้ว่ามีน้ำแข็งอยู่จริงส่งข้อมูลกลับยังพื้นโลก ก่อนที่ก่อนที่มันจะพุ่งกระทบพื้นผิวดวงจันทร์ภายในเวลา 4 นาที ตามหลัง หลังจากที่จรวด Centaur ถูกยิงออกไป
สำหรับการพุ่งชนในครั้งนี้ ทางNASAได้กะว่าจะทำในช่วงเวลาเวลากลางคืนของทวีปอเมริกา เพื่อให้เพื่อให้หอดูดาวต่างๆ ในประเทศทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำมิสซิสซิปปีในสหรัฐ สามารถสังเกตเหตุการณ์นี้ผ่านกล้องโทรทรรศที่มีความยาว 12 ไปพร้อมกัน
ผลพลอยได้ที่อาจมาจากโครงการสำรวจในครั้งนี้ คือ การยืนยันข้อสงสัยที่หลายคนกังขา NASA มาตลอดว่าการเยท้อดวงจันทร์ของโครงการอพอลโลเป็นเรื่องหลอกลวง เพราะคาดว่าภาพถ่ายที่มีความละเอียดสูงที่สามารถแยกแยะวัตถุที่มีขนาดไม่ถึง 1 เมตร จะทำให้เห็นร่องรอยของยานทิ้งไว้บนดวงจันทร์ได้
ข้อทฤษฎีสมคบคิดต่างๆ ที่กล่าวหาว่าโครงการอะพอลโลเป็นเรื่องหลอกลวงอาจถึงคราวยุติลงได้ เพราะนักดาราศาสตร์คาดว่าภาพถ่ายจากยานแอลอาร์โอจะสามารถแยกแยะวัตถุที่มีขนาดไม่ถึง 1 เมตร บนพื้นผิวดวงจันทร์ได้ ซึ่งละเอียดมากพอที่จะจับภาพร่องรอยของรถสำรวจและส่วนลงจอดของยานอะพอลโลที่ถูกทิ้งไว้บนนั้น
การอะพอลโล.jpg
(30.5 KB, 530x373 - ดู 328 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO)
«
ตอบ #6 เมื่อ:
กันยายน 01, 2009, 12:08:20 pm »
และนี่คือส่วนหนึ่งของภาพถ่ายที่ ยืนยันโรงการอพอลโล
All images credit: NASA/Goddard Space Flight Center/Arizona State University
Apollo 11 lunar module, Eagle.jpg
(170.26 KB, 500x500 - ดู 261 ครั้ง.)
Apollo 15 lunar module, Falcon..jpg
(198.16 KB, 500x500 - ดู 252 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สำรวจดวงจันทร์กับ Lunar Reconnaissance Orbiter (LRO)
«
ตอบ #7 เมื่อ:
กันยายน 01, 2009, 12:09:58 pm »
Apollo 14 lunar module, Antares.
และโครงการนี้ถือเป็นก้าวแรก สำหรับแผนการกับสู่ดวงจันทร์ของมนุษย์ครั้งที่สอง โดยกำหนดไว้ว่าปฏิบัติการนี้ที่จะใช้เวลาอย่างน้อยหนึ่งปีในวงโคจรต่ำผ่านขั้วดวงจันทร์ในปฏิบัติการสำรวจหลัก ก็อาจจะมีความเป็นไปได้ที่จะยายเวลาออกไปอีก 3 ปี เพื่อสำรวจและรวบรวมข้อมูลของดวงจันทร์เพิ่มมากขึ้น และเราก็เตรียมจับตาดูกันว่าความคึกคักของการส่งยานสำรวจดวงจันทร์จากหลายๆประเทศในตอนนี้ทั้ง จีน ญี่ปุ่น อินเดีย จะทำให้เราเห็นภาพแห่งอดีต ของมนุษย์ที่ก้าวเท้าย่ำบนดวงจันทร์อีกเมื่อใด
Apollo 14 lunar module, Antares..jpg
(150.69 KB, 500x417 - ดู 253 ครั้ง.)
Apollo 16 lunar module,Orion.jpg
(209.73 KB, 500x500 - ดู 258 ครั้ง.)
Apollo 17 lunar module, Challenger.jpg
(195.89 KB, 500x500 - ดู 243 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
หน้า: [
1
]
พิมพ์
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
กระโดดไป:
เลือกหัวข้อ:
-----------------------------
ฟิสิกส์ 1
-----------------------------
=> การวัด
=> เวกเตอร์
=> การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ
=> การเคลื่อนที่บนระนาบ
=> กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> การประยุกต์กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> งานและพลังงาน
=> การดลและโมเมนตัม
=> การหมุน
=> สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
=> การเคลื่อนที่แบบคาบ
=> ความยืดหยุ่น
=> กลศาสตร์ของไหล
=> ปริมาณความร้อน และ กลไกการถ่ายโอนความร้อน
=> กฎข้อที่หนึ่งและสองของเทอร์โมไดนามิก
=> คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
=> การสั่นและคลื่น
=> เสียง
-----------------------------
ฟิสิกส์ 2
-----------------------------
=> ไฟฟ้าสถิต
=> สนามไฟฟ้า
=> ความกว้างของสายฟ้า
=> ศักย์ไฟฟ้า
=> ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน
=> กระแสไฟฟ้า
=> สนามแม่เหล็ก
=> การเหนี่ยวนำ
=> ไฟฟ้ากระแสสลับ
=> ทรานซิสเตอร์
=> สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ
=> แสงและการมองเห็น
=> ทฤษฎีสัมพัทธภาพ
=> กลศาสตร์ควอนตัม
=> โครงสร้างของอะตอม
=> นิวเคลียร์
-----------------------------
วัสดูศาสตร์ (Material science)
-----------------------------
=> ความหมายของวัสดุศาสตร์
=> โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมี
=> การจัตตัวของอะตอมและโครงสร้างผลึก
=> การแข็งตัวของโลหะ ความไม่สมบูรณ์ของผลึก
=> คุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุ
=> สมบัติเชิงกลของโลหะ
=> วัสดุพอลิเมอร์
=> เฟสไดอะแกรม
=> โลหะ
=> วัสดุเซรามิก
=> การกัดกร่อน
=> เรืองอื่นๆทางวัสดุศาสตร์
-----------------------------
หมวดหมู่ทั่วไป
-----------------------------
=> คลังข้อสอบฟิสิกส์
=> อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
=> เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
=> สาระเกี่ยวกับระบบโทรคมนาคม
=> ไฟฟ้าน่ารู้
=> สมาชิก แนะนำตัวที่นี่ครับ
=> ดาราศาสตร์
=> ธรรมะดีๆๆ สอนใจ
=> คณิตศาสตร์ E-BOOK
=> แคลคูลัส สำหรับวิศวกร ตัวอย่างโจทย์และข้อสอบเก่าๆ
=> คลายเครียด
=> สาระความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ
=> สาระเกี่ยวกับพลังงาน และเชื้อเพลิง
=> สาระน่ารู้เรื่องน้ำดื่ม และกระบวนการ RO
=> ขอความร่วมมือสมาชิกทุกท่าน
=> อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
=> เรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับสเต็มเซลล์
=> แนะนำสมาชิก
=> แหล่งความรู้ทั่วไป
กำลังโหลด...