สิงหาคม 19, 2022, 08:44:51 am
ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
1 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
1 เดือน
ตลอดกาล
เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว
:
หน้าแรก
ช่วยเหลือ
ค้นหา
ปฏิทิน
สมาชิก
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
RmutPhysics.com
>
หมวดหมู่ทั่วไป
>
สาระเกี่ยวกับระบบโทรคมนาคม
>
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
หน้า:
1
[
2
]
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
ผู้เขียน
หัวข้อ: สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก (อ่าน 4272 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
«
ตอบ #30 เมื่อ:
มิถุนายน 11, 2010, 11:22:02 pm »
หมายเหตุ: การแก้ไขที่แหล่งกำเนิดอื่นๆ ที่อาจ
จะเป็นอันตรายและไม่อาจดำเนินการได้ด้วย
ตนเอง เช่น สายไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า หรือ
การติดตั้งและการเดินสายที่ไม่ถูกต้อง ควรแจ้ง
ให้ช่างไฟฟ้าหรือการไฟฟ้าในเขตพื้นที่เข้ามา
ตรวจสอบและดำเนินการปรับปรุงแก้ไข
ถ้าแหล่งกำเนิดสนามแม่เหล็กเกิดจาก
ระบบแสงสว่าง ซึ่งส่วนมากมักจะมาจาก
บัลลาสต์ชนิดขดลวดแกนเหล็ก ในกรณีนี้
การเปลี่ยนบัลลาสต์จากชนิดขดลวดแกนเหล็ก
เป็นบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สามารถลด
สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นและช่วยแก้ไขอาการ
สั่นพลิ้วของภาพบนจอได้
ในกรณีที่จอภาพและแหล่งกำเนิดสนามแม่เหล็กไม่สามารถเคลื่อนย้ายตำแหน่ง
การวางได้ การปรับความถี่การสแกนหรือการกวาดภาพในแนวตั้ง (Refresh rate) ให้มีค่า
สูงกว่า 50 Hz มากๆ เป็นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถแก้ไขอาการสั่นพลิ้วของภาพบนจอได้ เช่น
ปรับเป็น 75 Hz หรือ 85 Hz ความถี่ในการสแกนนี้สามารถเข้าไปปรับเปลี่ยนได้โดยเข้าไปที่
Display Properties เลือกเมนู Setting คลิกที่ปุ่ม Advanced เลือกเมนู Monitor แล้วเลือก
ค่าความถี่ในการสแกนที่ต้องการในส่วนของ Monitor Setting (สำหรับ Microsoft Window)
ในบางครั้งการปรับความถี่ในการสแกนก็ไม่สามารถแก้ไขอาการสั่นพลิ้วของภาพบนจอได้
เนื่องจากสนามแม่เหล็กอาจมีค่าสูงมากในบริเวณนั้น
หมายเหตุ: การปรับความถี่ในการสแกนควรกระทำโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร ์
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
«
ตอบ #31 เมื่อ:
มิถุนายน 11, 2010, 11:23:09 pm »
ตัวอย่างการสั่นพลิ้วของภาพบนจอคอมพิวเตอร์
ชนิดหลอดภาพ CRT ซึ่งเกิดจากเตาอบ
ไมโครเวฟที่วางอยู่อีกด้านของผนัง ในกรณีนี้
เมื่อย้ายจอคอมพิวเตอร์ออกห่างจากแหล่งกำเนิด
ประมาณ 2 ฟุต ก็สามารถแก้ไขอาการสั่นพลิ้วได้
เนื่องจากสนามแม่เหล็กมีการลดลงอย่างรวดเร็ว
เมื่ออยู่ห่างจากแหล่งกำเนิดมากขึ้น
ตัวอย่างการสั่นพริ้วภาพบนจอคอม.png
(17.98 KB, 290x260 - ดู 237 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
«
ตอบ #32 เมื่อ:
มิถุนายน 11, 2010, 11:23:59 pm »
กรณีที่ตรวจพบว่าแหล่งกำเนิดหรือตัวสร้างสนามแม่เหล็กรบกวนมาจากสายตัวนำ
ของการไฟฟ้า หรือ อุปกรณ์ของการไฟฟ้า หรือ มาจากอาคารข้างเคียง ให้ปรึกษาหรือแจ้ง
การไฟฟ้าในเขตพื้นที่เพื่อพิจารณาหาแนวทางแก้ไขต่อไป
มาตรการสุดท้ายในการแก้ไขอาการสั่นพลิ้ว
ของภาพบนจอคอมพิวเตอร์ คือ การ กำบังหรือชีลด์
(Shield) จอคอมพิวเตอร์ หรือ บริเวณพื้นที่ใช้งาน
ด้วยวัสดุชีลด์ ซึ่งเป็นโลหะผสมที่มีคุณสมบัติพิเศษ
ในการกำบังสนามแม่เหล็กเช่น แผ่นเหล็กที่ใช้ทำแกน
ของหม้อแปลงไฟฟ้ากำลัง เป็นต้น การใช้วัสดุชีลด์
สามารถลดทอนหรือป้องกันการรบกวนจาก
สนามแม่เหล็กได้
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
«
ตอบ #33 เมื่อ:
มิถุนายน 11, 2010, 11:25:02 pm »
ภาพถ่ายตัวอย่างกล่องชีลด์ (ของต่างประเทศ)
สำหรับครอบจอคอมพิวเตอร์
สิ่งที่จะต้องตรวจสอบ
ต้องมั่นใจว่าคอมพิวเตอร์ และ
จอคอมพิวเตอร์นั้นวางอยู่ในพื้นที่
ที่เหมาะสม และห่างจากเครื่องใช้
ไฟฟ้าขนาดใหญ่ แผงสวิตช์ควบคุม
การจ่ายไฟ และ หม้อแปลงไฟฟ้า
ค้นหาแหล่งกำเนิดหรือตัวสร้าง
สนามแม่เหล็ก โดยการปิดไฟ
แสงสว่างและเครื่องใช้ไฟฟ้าที่สงสัย
ทีละเครื่อง หรือ ใช้เครื่องวัด
สนามแม่เหล็ก
ย้ายจอคอมพิวเตอร์หรือแหล่งกำเนิด
ของสนามแม่เหล็กให้อยู่ห่างกัน
เปลี่ยนความถี่การสแกนในแนวตั้ง
ของจอภาพโดยเข้าไปปรับที่ Display
Properties (Monitor Setting)
ตรวจสอบการเดินสายภายในและ
ภายนอกอาคาร ซึ่งควรให้ช่างไฟฟ้า
หรือการไฟฟ้าเป็นผู้ดำเนินการ
ภาพกล่ิองชิลดิ์.png
(22.75 KB, 250x217 - ดู 226 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
«
ตอบ #34 เมื่อ:
มิถุนายน 11, 2010, 11:27:11 pm »
ควรหลีกเลี่ยงการใช้งานคอมพิวเตอร์ใกล้แนวสายไฟฟ้าของการไฟฟ้า หรือ ควร
ใช้งานห่างจากแนวสายของการไฟฟ้าเป็นระยะประมาณ 5 ถึง 15 เมตร ขึ้นอยู่กับชนิดและ
ประเภทของสายไฟฟ้า
หากมีความจำเป็นหรือหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องใช้งาน
คอมพิวเตอร์ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กรบกวน ควรเลือกใช้
จอคอมพิวเตอร์ที่เป็นจอภาพชนิด LCD แทนจอชนิดหลอดภาพ
CRT เนื่องจากสนามแม่เหล็กไม่มีผลกระทบต่อการทำงานของ
จอภาพชนิดนี้
35_LCD_monitor.png
(33.53 KB, 150x150 - ดู 333 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
หน้า:
1
[
2
]
พิมพ์
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
กระโดดไป:
เลือกหัวข้อ:
-----------------------------
ฟิสิกส์ 1
-----------------------------
=> การวัด
=> เวกเตอร์
=> การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ
=> การเคลื่อนที่บนระนาบ
=> กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> การประยุกต์กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> งานและพลังงาน
=> การดลและโมเมนตัม
=> การหมุน
=> สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
=> การเคลื่อนที่แบบคาบ
=> ความยืดหยุ่น
=> กลศาสตร์ของไหล
=> ปริมาณความร้อน และ กลไกการถ่ายโอนความร้อน
=> กฎข้อที่หนึ่งและสองของเทอร์โมไดนามิก
=> คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
=> การสั่นและคลื่น
=> เสียง
-----------------------------
ฟิสิกส์ 2
-----------------------------
=> ไฟฟ้าสถิต
=> สนามไฟฟ้า
=> ความกว้างของสายฟ้า
=> ศักย์ไฟฟ้า
=> ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน
=> กระแสไฟฟ้า
=> สนามแม่เหล็ก
=> การเหนี่ยวนำ
=> ไฟฟ้ากระแสสลับ
=> ทรานซิสเตอร์
=> สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ
=> แสงและการมองเห็น
=> ทฤษฎีสัมพัทธภาพ
=> กลศาสตร์ควอนตัม
=> โครงสร้างของอะตอม
=> นิวเคลียร์
-----------------------------
วัสดูศาสตร์ (Material science)
-----------------------------
=> ความหมายของวัสดุศาสตร์
=> โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมี
=> การจัตตัวของอะตอมและโครงสร้างผลึก
=> การแข็งตัวของโลหะ ความไม่สมบูรณ์ของผลึก
=> คุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุ
=> สมบัติเชิงกลของโลหะ
=> วัสดุพอลิเมอร์
=> เฟสไดอะแกรม
=> โลหะ
=> วัสดุเซรามิก
=> การกัดกร่อน
=> เรืองอื่นๆทางวัสดุศาสตร์
-----------------------------
หมวดหมู่ทั่วไป
-----------------------------
=> คลังข้อสอบฟิสิกส์
=> อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
=> เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
=> สาระเกี่ยวกับระบบโทรคมนาคม
=> ไฟฟ้าน่ารู้
=> สมาชิก แนะนำตัวที่นี่ครับ
=> ดาราศาสตร์
=> ธรรมะดีๆๆ สอนใจ
=> คณิตศาสตร์ E-BOOK
=> แคลคูลัส สำหรับวิศวกร ตัวอย่างโจทย์และข้อสอบเก่าๆ
=> คลายเครียด
=> สาระความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ
=> สาระเกี่ยวกับพลังงาน และเชื้อเพลิง
=> สาระน่ารู้เรื่องน้ำดื่ม และกระบวนการ RO
=> ขอความร่วมมือสมาชิกทุกท่าน
=> อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
=> เรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับสเต็มเซลล์
=> แนะนำสมาชิก
=> แหล่งความรู้ทั่วไป
กำลังโหลด...