Thaweesak
|
 |
« ตอบ #60 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 07:19:24 pm » |
|
นาย ทวีศักดิ์ ธนทรัพย์ทวี รหัส 115330411008-9 sec.04 วิศวกรรมโยธา เวลา 19.20 เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน
|
|
|
|
potchapon031
|
 |
« ตอบ #61 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 07:42:33 pm » |
|
นายภชพน เกตุวงศ์ รหัส 115330411031-1 เลขที่ 25 วิศวกรรมโยธา sec.4 สถานที่ กิตติพงศ์ แมนชั่น เป็นแนวคิดเดียวกันกับความสูงในสนามแรงโน้มถ่วงโดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้าศักย์โน้มถ่วง เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วหนึ่งของแบตไปยังอีกขั้วหนึ่ง(สมมุติให้แบตมีความต่างศักย์ 12V) ถ้าเรากราวขั้วหนึ่งของแบตอีกขั้ววัดค่าความต่างศักย์ ได้ 12V เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าไม่ได้กราวด์ไว้ แต่ต่อขั้วของแบตเข้ากับศักย์ไฟฟ้า 100V อีกขั้วหนึ่งของแบตจะวัดได้ 112V เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าวัดเทียบกับอีกขั้วหนึ่งของแบตยังเป็น 12V
|
|
|
|
pollavat
|
 |
« ตอบ #62 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 07:48:23 pm » |
|
นายพลวัฒน์ คำกุณา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม เวลา 19.48 น. ที่หอพักzoom เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน
|
|
|
|
oOGIG...k}
|
 |
« ตอบ #63 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 07:49:03 pm » |
|
นายชำนาญกิจ ศิริยานนท์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ sec04 เลขที่ 4 รหัส 115330411004-8 วันที่ 2 /12/2553 เวลา 07:46:57 pm สถานที่ เศรษฐบุตร เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วหนึ่งของแบตไปยังอีกขั้วหนึ่ง (สมมติให้แบตมีความต่างศักย์ 12 โวลต์) ถ้าเรากราวด์ขั้วหนึ่งของแบต อีกขั้วหนึ่งวัดความต่างศักย์ได้ 12 โวลต์ เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าไม่ได้กราวด์ไว้ แต่ต่อขั้วของแบตเข้ากับศักย์ไฟฟ้า 100 โวลต์ อีกขั้วหนี่งของแบตจะวัดได้ 112 โวลต์เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าวัดเทียบกับอีกขั้วหนึ่งของแบตยังเป็น 12 โวลต์ เช่นเดียวกัน หินตกจากยอดตึกที่สูง 10 เมตร ลงบนพื้น แสดงว่ามีความต่างศักย์โน้มถ่วง 10 เมตร หรือถ้าบนพื้นขุดหลุมลึกลงไปอีก 10 เมตร หินยังคงตกต่อไปอีก 10 เมตร จึงจะถึงก้นหลุม ความต่างศักย์กรณีนี้คือ 20 เมตร สรุปว่า ถ้าเราวัดเทียบกับพื้น ความต่างศักย์เป็น 10 เมตร แต่เทียบกับก้นหลุมเป็น 20 เมตร ความร้อนก็มีลักษณะเหมือนกัน ความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 100 ถึง 30 องศาเซลเซียส จะเท่ากับความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 50 ถึง -20 องศาเซลเซียส
|
|
|
|
siwapat
|
 |
« ตอบ #64 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 07:54:40 pm » |
|
นายศิวภัทร์ รัตนสมบูรณ์ รหัส 115330411024-6 เลขที่ 18 sec.4 วิศวกรรมโยธา วันที่ 2/12/53 เวลา 7.51 pm ที่หอลากูลแมนชั่น แนวคิดของพลังงาน เมื่อเรายกหินขึ้นจากพื้นดิน และกำหนดให้พื้นดินมีพลังงานเป็นศูนย์ เหนือพื้นดินแสดงว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นบวก ใต้พื้นดินแสดงว่าพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นลบ พลังงานเท่ากับ งานในการยกวัตถุ จากพื้นไปจนถึงระดับที่ต้องการ ซึ่งเท่ากับ น้ำหนักของวัตถุ (mg) คูณกับความสูง h วางประจุอิเล็กตรอนในศักย์ไฟฟ้า พลังงานศักย์ที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้าจะเท่ากับ ประจุ q คูณกับความต่างศักย์ V แนวคิดของสนามไฟฟ้า สนามแรงโน้มถ่วงอยู่ในทิศทางเดียวกับ h เส้นแนวดิ่งที่เชื่อมจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างของศักย์โน้มถ่วง เช่นเดียวกับสนามไฟฟ้า ที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ V เส้นที่เชื่อมจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้า ยกตัวอย่างเช่น ขั้วไฟฟ้าของแบตเตอรี่ และเช่นเดียวกันกับสนามอุณหภูมิที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ T เส้นที่เชื่อมจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างของอุณหภูมิ เช่นอุณหภูมิที่เตา กับอุณหภูมิรอบเตา
|
|
|
|
watchaiza
|
 |
« ตอบ #65 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 08:21:49 pm » |
|
กระผมนาย ธวัชชัย พลรักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา Sec.04 รหัสนักศึกษา 115330411041-0 เรียนกับอาจาร์ย จรัส บุณยธรรมา วันที่ 2 ธันวาคม พศ.2553 เวลา20:21 น. แนวคิดของ "โวลต์" โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน แนวคิดของ "พลังงาน" เมื่อเรายกหินขึ้นจากพื้นดิน และกำหนดให้พื้นดินมีพลังงานเป็นศูนย์ เหนือพื้นดินแสดงว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นบวก ใต้พื้นดินแสดงว่าพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นลบ พลังงานเท่ากับ งานในการยกวัตถุ จากพื้นไปกษ์จนถึงระดับที่ต้องการ ซึ่งเท่ากับ น้ำหนักของวัดถุ (mg) คูณกับความสูง h แนวคิดของ "สนามไฟฟ้า" สนามแรงโน้มถ่วงอยู่ในทิศทางเดียวกับ h (เส้นแนวดิ่งที่เชื่อมจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างของศักย์โน้มถ่วง)
|
|
|
|
titikron
|
 |
« ตอบ #66 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 08:39:12 pm » |
|
นาย ฐิติกร แก้วประชา รหัส 115330411022-0 วิศวกรรมโยธา Sec.04 วันที่ 2ธ.ค. 2553 เวลา 08.39 pm สถานที่ หอโฟร์บี 2
เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วหนึ่งของแบตไปยังอีกขั้วหนึ่ง (สมมติให้แบตมีความต่างศักย์ 12 โวลต์) ถ้าเรากราวด์ขั้วหนึ่งของแบต อีกขั้วหนึ่งวัดความต่างศักย์ได้ 12 โวลต์ เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าไม่ได้กราวด์ไว้ แต่ต่อขั้วของแบตเข้ากับศักย์ไฟฟ้า 100 โวลต์ อีกขั้วหนี่งของแบตจะวัดได้ 112 โวลต์เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าวัดเทียบกับอีกขั้วหนึ่งของแบตยังเป็น 12 โวลต์ เช่นเดียวกัน หินตกจากยอดตึกที่สูง 10 เมตร ลงบนพื้น แสดงว่ามีความต่างศักย์โน้มถ่วง 10 เมตร หรือถ้าบนพื้นขุดหลุมลึกลงไปอีก 10 เมตร หินยังคงตกต่อไปอีก 10 เมตร จึงจะถึงก้นหลุม ความต่างศักย์กรณีนี้คือ 20 เมตร สรุปว่า ถ้าเราวัดเทียบกับพื้น ความต่างศักย์เป็น 10 เมตร แต่เทียบกับก้นหลุมเป็น 20 เมตร ความร้อนก็มีลักษณะเหมือนกัน ความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 100 ถึง 30 องศาเซลเซียส จะเท่ากับความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 50 ถึง -20 องศาเซลเซียส
|
|
|
|
Meena
|
 |
« ตอบ #67 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 09:11:17 pm » |
|
นายพสิษฐ์ แดงอาสา ภาค วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411011-3 Sec 4
ศูนย์โวลต์มมีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เปรียบเทียบกับพื้นผิวโลก ภาษาทางไฟฟ้าเรียกว่า ดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเีดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน เป็นต้น การเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างกันของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศูนย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
suppachok
|
 |
« ตอบ #68 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 09:17:57 pm » |
|
นาย ศุภโชค เปรมกิจ รหัส 115330411051-9 เวลา 09.19 pm. วันที่ 2 ธ.ค. 53 สถานที่ หอโฟร์บี 2
เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วหนึ่งของแบตไปยังอีกขั้วหนึ่ง (สมมติให้แบตมีความต่างศักย์ 12 โวลต์) ถ้าเรากราวด์ขั้วหนึ่งของแบต อีกขั้วหนึ่งวัดความต่างศักย์ได้ 12 โวลต์ เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าไม่ได้กราวด์ไว้ แต่ต่อขั้วของแบตเข้ากับศักย์ไฟฟ้า 100 โวลต์ อีกขั้วหนี่งของแบตจะวัดได้ 112 โวลต์เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าวัดเทียบกับอีกขั้วหนึ่งของแบตยังเป็น 12 โวลต์ เช่นเดียวกัน หินตกจากยอดตึกที่สูง 10 เมตร ลงบนพื้น แสดงว่ามีความต่างศักย์โน้มถ่วง 10 เมตร หรือถ้าบนพื้นขุดหลุมลึกลงไปอีก 10 เมตร หินยังคงตกต่อไปอีก 10 เมตร จึงจะถึงก้นหลุม ความต่างศักย์กรณีนี้คือ 20 เมตร สรุปว่า ถ้าเราวัดเทียบกับพื้น ความต่างศักย์เป็น 10 เมตร แต่เทียบกับก้นหลุมเป็น 20 เมตร ความร้อนก็มีลักษณะเหมือนกัน ความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 100 ถึง 30 องศาเซลเซียส จะเท่ากับความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 50 ถึง -20 องศาเซลเซียส
|
|
|
|
iinuyashaa
|
 |
« ตอบ #69 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 09:37:29 pm » |
|
นางสาววิภวานี แสงทอง นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาเคมี sec 02 รหัส 115210902118-6 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2/12/2553 ที่บ้าน เวลา 21:37 น.
สรุปว่า
เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน
|
|
|
|
Thamanoon
|
 |
« ตอบ #70 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 09:58:15 pm » |
|
ผมนายธรรมนูญ พุทธวงษ์ คณวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411009-7 เลขที่ 9 เรียนกับ อ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม 2553 ที่ บ้านเช่า ซอยอีสเทิร์น เวลา 21.58 น. เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
heetoon
|
 |
« ตอบ #71 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 10:41:25 pm » |
|
นายราชันย์ บุตรชน 115330411047-7 sec 04 ตอบกระทู้วันที่ 2/12/53 เวลา 22.41 ณ.หอ Four B4 เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วหนึ่งของแบตไปยังอีกขั้วหนึ่ง (สมมติให้แบตมีความต่างศักย์ 12 โวลต์) ถ้าเรากราวด์ขั้วหนึ่งของแบต อีกขั้วหนึ่งวัดความต่างศักย์ได้ 12 โวลต์ เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าไม่ได้กราวด์ไว้ แต่ต่อขั้วของแบตเข้ากับศักย์ไฟฟ้า 100 โวลต์ อีกขั้วหนี่งของแบตจะวัดได้ 112 โวลต์เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าวัดเทียบกับอีกขั้วหนึ่งของแบตยังเป็น 12 โวลต์ เช่นเดียวกัน หินตกจากยอดตึกที่สูง 10 เมตร ลงบนพื้น แสดงว่ามีความต่างศักย์โน้มถ่วง 10 เมตร หรือถ้าบนพื้นขุดหลุมลึกลงไปอีก 10 เมตร หินยังคงตกต่อไปอีก 10 เมตร จึงจะถึงก้นหลุม ความต่างศักย์กรณีนี้คือ 20 เมตร สรุปว่า ถ้าเราวัดเทียบกับพื้น ความต่างศักย์เป็น 10 เมตร แต่เทียบกับก้นหลุมเป็น 20 เมตร ความร้อนก็มีลักษณะเหมือนกัน ความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 100 ถึง 30 องศาเซลเซียส จะเท่ากับความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 50 ถึง -20 องศาเซลเซียส
|
|
|
|
bear
|
 |
« ตอบ #72 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 11:01:01 pm » |
|
เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า นาย อุดม แก้วชู คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411034-5 เลขที่ 28 sec 4
ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วหนึ่งของแบตไปยังอีกขั้วหนึ่ง (สมมติให้แบตมีความต่างศักย์ 12 โวลต์) ถ้าเรากราวด์ขั้วหนึ่งของแบต อีกขั้วหนึ่งวัดความต่างศักย์ได้ 12 โวลต์ เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าไม่ได้กราวด์ไว้ แต่ต่อขั้วของแบตเข้ากับศักย์ไฟฟ้า 100 โวลต์ อีกขั้วหนี่งของแบตจะวัดได้ 112 โวลต์เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าวัดเทียบกับอีกขั้วหนึ่งของแบตยังเป็น 12 โวลต์ เช่นเดียวกัน หินตกจากยอดตึกที่สูง 10 เมตร ลงบนพื้น แสดงว่ามีความต่างศักย์โน้มถ่วง 10 เมตร หรือถ้าบนพื้นขุดหลุมลึกลงไปอีก 10 เมตร หินยังคงตกต่อไปอีก 10 เมตร จึงจะถึงก้นหลุม ความต่างศักย์กรณีนี้คือ 20 เมตร สรุปว่า ถ้าเราวัดเทียบกับพื้น ความต่างศักย์เป็น 10 เมตร แต่เทียบกับก้นหลุมเป็น 20 เมตร ความร้อนก็มีลักษณะเหมือนกัน ความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 100 ถึง 30 องศาเซลเซียส จะเท่ากับความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 50 ถึง -20 องศาเซลเซียส
|
|
|
|
pitak
|
 |
« ตอบ #73 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 11:11:35 pm » |
|
นายพิทักษ์ นงนวล รหัส 115330411018-8 sec 04 เลขที่ 15 ตอบกระทู้ที่ สวนสุทธิพันธ์ วันที่ 02/12/2553 เวลา 23.11 น. สรุปได้ว่าความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
Mr.Tinnakorn
|
 |
« ตอบ #74 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 11:30:00 pm » |
|
นาย ทินกร สุพรรณสืบ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 4 รหัสประจำตัว 115330411049-3 2/12/53 เวลา11:28 PM
สรุปได้ว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิ เป็นได้ดังนี้ กระแสไฟฟ้า คือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังศักย์ต่ำ ส่วนกรณี ของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ สำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณภูมืสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ซึ่งทั้งหมดนี้มาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
mypomz
|
 |
« ตอบ #75 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 11:50:04 pm » |
|
นายนพรัตน์ โตอิ่ม คณะวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411040-2 เลขที่ 33 sec 4 ตอบกระทู้วันที่ 2 ธ.ค. 53 เวลา 23.52 สถานที่ ร้านshooter
ศูนย์โวลต์มมีความหมายว่าเป็นโวลต์ที่เปรียบเทียบกับพื้นผิวโลกภาษาทางไฟฟ้าเรียกว่า ดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์เมื่อเทียบกับพื้นโลกและเช่นเีดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน เป็นต้น การเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิงเราจึงนิยามความต่างศักย์ไฟฟ้าความต่างศักย์โน้มถ่วงและความแตกต่างกันของอุณหภูมิได้กระแสไฟฟ้า คือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศูนย์สูงไปที่ศักย์ต่ำส่วนกรณีของแรงโน้มถ่วงฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำและสำหรับความร้อนโมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
pichet
|
 |
« ตอบ #76 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 11:56:30 pm » |
|
นายพิเชษฐ์ จันทร์โสภา รหัส 115330411044-4 sec 4 cve 53341 2/12/53 เวลา 11:56 pm สรุปได้ว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิ เป็นได้ดังนี้ กระแสไฟฟ้า คือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังศักย์ต่ำ ส่วนกรณี ของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ สำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณภูมืสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ซึ่งทั้งหมดนี้มาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด ตอบ อ้างถึง แจ้งเตือน
|
|
|
|
ณัฐพงษ์ สันทะ
|
 |
« ตอบ #77 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2010, 12:07:56 am » |
|
กระผม นาย ณัฐพงษ์ สันทะ นักศึกษาคณะ วิศวกรรมอุตสาหการ - การจัดการ sec 4 รหัสประจำตัว 115330441216-2 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่_3 เดือน_12 พศ_2553 ที่(ชื่อหอพัก/ชื่อบ้านพัก)_ประสงค์ เวลา_00.02 มีความเห็นว่า/มีข้อคิดเห็นว่า/ความรู้จากเนื้อหาที่ได้ คือ สรุปได้ว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิ เป็นได้ดังนี้ กระแสไฟฟ้า คือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังศักย์ต่ำ ส่วนกรณี ของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ สำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณภูมืสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ซึ่งทั้งหมดนี้มาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
udomporn
|
 |
« ตอบ #78 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2010, 12:37:10 am » |
|
นาย อุดมพร พวงสุวรรณ รหัส 115330411025-3 sec 4 เลขที่ 19 ตอบกระทู้วันที่ 03/12/53 เวลา 00.33 หอ ลากูล
ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วหนึ่งของแบตไปยังอีกขั้วหนึ่ง (สมมติให้แบตมีความต่างศักย์ 12 โวลต์) ถ้าเรากราวด์ขั้วหนึ่งของแบต อีกขั้วหนึ่งวัดความต่างศักย์ได้ 12 โวลต์ เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าไม่ได้กราวด์ไว้ แต่ต่อขั้วของแบตเข้ากับศักย์ไฟฟ้า 100 โวลต์ อีกขั้วหนี่งของแบตจะวัดได้ 112 โวลต์เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าวัดเทียบกับอีกขั้วหนึ่งของแบตยังเป็น 12 โวลต์ เช่นเดียวกัน หินตกจากยอดตึกที่สูง 10 เมตร ลงบนพื้น แสดงว่ามีความต่างศักย์โน้มถ่วง 10 เมตร หรือถ้าบนพื้นขุดหลุมลึกลงไปอีก 10 เมตร หินยังคงตกต่อไปอีก 10 เมตร จึงจะถึงก้นหลุม ความต่างศักย์กรณีนี้คือ 20 เมตร สรุปว่า ถ้าเราวัดเทียบกับพื้น ความต่างศักย์เป็น 10 เมตร แต่เทียบกับก้นหลุมเป็น 20 เมตร ความร้อนก็มีลักษณะเหมือนกัน ความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 100 ถึง 30 องศาเซลเซียส จะเท่ากับความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 50 ถึง -20 องศาเซลเซียส
|
|
|
|
mongkhonphan
|
 |
« ตอบ #79 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2010, 12:41:58 am » |
|
นายมงคลพันธ์ แซ่หลี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411039-4 sec 04 เลขที่ 32ตอบกระทู้วันที่ 3/12/53 เวลา 0.38น. ที่หอลากูน ความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
แนวคิดของพลังงาน เมื่อเรายกหินขึ้นจากพื้นดิน และกำหนดให้พื้นดินมีพลังงานเป็นศูนย์ เหนือพื้นดินแสดงว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นบวก ใต้พื้นดินแสดงว่าพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นลบ พลังงานเท่ากับ งานในการยกวัตถุ จากพื้นไปจนถึงระดับที่ต้องการ ซึ่งเท่ากับ น้ำหนักของวัตถุ (mg) คูณกับความสูง h วางประจุอิเล็กตรอนในศักย์ไฟฟ้า พลังงานศักย์ที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้าจะเท่ากับ ประจุ q คูณกับความต่างศักย์ V
แนวคิดของสนามไฟฟ้า สนามแรงโน้มถ่วงอยู่ในทิศทางเดียวกับ h (เส้นแนวดิ่งที่เชื่อมจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างของศักย์โน้มถ่วง) เช่นเดียวกับสนามไฟฟ้า ที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ V ( เส้นที่เชื่อมจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้า ยกตัวอย่างเช่น ขั้วไฟฟ้าของแบตเตอรี่) และเช่นเดียวกันกับสนามอุณหภูมิที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ T ( เส้นที่เชื่อมจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างของอุณหภูมิ เช่นอุณหภูมิที่เตา กับอุณหภูมิรอบเตา) ความสัมพันธ์ระหว่างประจุ ความต่างศักย์ และงาน เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ งาน = ประจุ x ความต่างศักย์ หน่วยเมตริก งานคือจูล ประจุ คือ คูลอมบ์ และ ความต่างศักย์คือโวลต์ เพราะฉะนั้นสมการบนจะเป็น 1 จูล = ( 1 คูลอมบ์) x ( 1 โวลต์) แนวคิดของศักย์ไฟฟ้า V ในสนามไฟฟ้า เป็นแนวคิดเดียวกันกับ ความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง ดังนั้นที่ระดับความสูงเดียวกัน ศักย์โน้มถ่วงเท่ากัน เส้นศักย์ที่ลากผ่านเส้นสนามไฟฟ้าของจุดประจุจะเท่ากันที่ระยะห่างจากประจุเท่ากัน มีชื่อเรียกว่าเส้นศักย์เท่า สังเกตในการทดลอง เส้นศักย์เท่าของจุดประจุเป็นทรงกลมหลายๆชั้นล้อมรอบประจุไว้ตรงกลาง ศักย์ไฟฟ้า V และ พลังงานศักย์ไฟฟ้า U= qV เป็นปริมาณที่แตกต่างกัน และมีหน่วยต่างกัน ศักย์ไฟฟ้า V เทียบได้กับความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง และพลังงานศักย์ไฟฟ้า U = qV เทียบได้กับพลังงานศักย์โน้มถ่วง U = mgh
|
|
|
|
Pathomphong
|
 |
« ตอบ #80 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2010, 01:11:04 am » |
|
นายปฐมพงศ์ พูนปก 115330411043-6 วิศวกรรมโยธา วันที่ 3/12/53 เวลา 1.09 หอลากูน เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา สนามแรงโน้มถ่วงอยู่ในทิศทางเดียวกับ h สนามไฟฟ้า ที่อยู่ในทิศทางเดียวกับความต่างศักย์ V สนามอุณหภูมิที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ T หน่วยเมตริก งานคือจูล ประจุ คือ คูลอมบ์ และ ความต่างศักย์คือโวลต์ เพราะฉะนั้นสมการบนจะเป็น 1 จูล = ( 1 คูลอมบ์) x ( 1 โวลต์) แนวคิดของศักย์ไฟฟ้า V ในสนามไฟฟ้า เป็นแนวคิดเดียวกันกับ ความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง ดังนั้นที่ระดับความสูงเดียวกัน ศักย์โน้มถ่วงเท่ากัน เส้นศักย์ที่ลากผ่านเส้นสนามไฟฟ้าของจุดประจุจะเท่ากันที่ระยะห่างจากประจุเท่ากัน มีชื่อเรียกว่าเส้นศักย์เท่า สังเกตในการทดลอง เส้นศักย์เท่าของจุดประจุเป็นทรงกลมหลายๆชั้นล้อมรอบประจุไว้ตรงกลาง ศักย์ไฟฟ้า V และ พลังงานศักย์ไฟฟ้า U= qV เป็นปริมาณที่แตกต่างกัน และมีหน่วยต่างกัน ศักย์ไฟฟ้า V เทียบได้กับความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง และพลังงานศักย์ไฟฟ้า U = qV เทียบได้กับพลังงานศักย์โน้มถ่วง U = mgh
|
|
|
|
tongchai
|
 |
« ตอบ #81 เมื่อ: ธันวาคม 05, 2010, 10:37:38 pm » |
|
ผมนาย ธงชัย ฉิมสุด นักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) sec 17 รหัส 115340441240-1 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5 ธันวาคม 2553 ณ หอพักโพธิ์ทอง เวลา 22.36 น
ความต่างศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิ กระแสไฟฟ้า คือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังศักย์ต่ำ ส่วนกรณี ของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ สำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณภูมืสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ซึ่งทั้งหมดนี้มาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
sompol w. 53444 INE
|
 |
« ตอบ #82 เมื่อ: ธันวาคม 07, 2010, 06:34:45 pm » |
|
 กระผม นายสมพล วงศ์ไชย คณะ วิศวกรรมอุตสาหการ sec 17 รหัสนักศึกษา 115340441208-8 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้าตอบกระทู้วันที่ 7 เดือน ธันวาคม พศ.2553 ที่ จันทร์เพ็ญอพาร์ทเมนท์ เวลา 18:34 ความต่างศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิ เป็นได้ดังนี้ กระแสไฟฟ้า คือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังศักย์ต่ำ ส่วนกรณี ของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ สำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณภูมืสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ซึ่งทั้งหมดนี้มาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
jackmaco
|
 |
« ตอบ #83 เมื่อ: ธันวาคม 07, 2010, 11:11:01 pm » |
|
นายธีรพงษ์ ม้วนทอง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัสประจำตัว115340441211-2 ตอบกระทู้วันที่ 07/12/53 เวลา 23:10 น. สถานที่ หอพัก Rohm (นวนคร)
สรุปว่า : เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
chatchai
|
 |
« ตอบ #84 เมื่อ: ธันวาคม 07, 2010, 11:47:59 pm » |
|
นาย ฉัตรชัย กล่อมเกลี้ยง คณะ วิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมอุตสาหการ – การจัดการ เลขที่ 28 รหัส 115340441232-8 sec17 วันที่ 7เดือน 12 พ.ศ. 2533 ทำที่ หอ โฟร์บี2 เวลา 23.50
เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
sutin
|
 |
« ตอบ #85 เมื่อ: ธันวาคม 08, 2010, 04:19:02 pm » |
|
นาย สุทิน ศรีวิลัย เลขที่ 25 sec17 รหัส 115340441222-9 สถานที่ บ. เจเอสออโตเวิร์ค วันที่ 8/12/2553 เวลา 16.18 น. โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
Sonthaya Suwaros
|
 |
« ตอบ #86 เมื่อ: ธันวาคม 08, 2010, 04:24:04 pm » |
|
ผม นาย สนธยา สุวรส นักศึกษาคณะวิศกรรมศาสตร์ วิศวกรรมอุตสาหการ รหัส 115040441089-8 ตอบกระทู้วันที่ 08-12-53 เวลา 16.15 น สรุปความรู้ที่ได้ คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด --แนวคิดของพลังงาน วางประจุอิเล็กตรอนในศักย์ไฟฟ้า พลังงานศักย์ที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้าจะเท่ากับ ประจุ q คูณกับความต่างศักย์ V --แนวคิดของสนามไฟฟ้า สนามแรงโน้มถ่วงอยู่ในทิศทางเดียวกับ h (เส้นแนวดิ่งที่เชื่อมจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างของศักย์โน้มถ่วง) เช่นเดียวกับสนามไฟฟ้า ที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ V ( เส้นที่เชื่อมจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้า ยกตัวอย่างเช่น ขั้วไฟฟ้าของแบตเตอรี่) และเช่นเดียวกันกับสนามอุณหภูมิที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ T ( เส้นที่เชื่อมจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างของอุณหภูมิ เช่นอุณหภูมิที่เตา กับอุณหภูมิรอบเตา) ความสัมพันธ์ระหว่างประจุ ความต่างศักย์ และงาน เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ งาน = ประจุ x ความต่างศักย์ หน่วยเมตริก งานคือจูล ประจุ คือ คูลอมบ์ และ ความต่างศักย์คือโวลต์ เพราะฉะนั้นสมการบนจะเป็น 1 จูล = ( 1 คูลอมบ์) x ( 1 โวลต์) -- แนวคิดของศักย์ไฟฟ้า V ในสนามไฟฟ้า เป็นแนวคิดเดียวกันกับ ความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง ดังนั้นที่ระดับความสูงเดียวกัน ศักย์โน้มถ่วงเท่ากัน เส้นศักย์ที่ลากผ่านเส้นสนามไฟฟ้าของจุดประจุจะเท่ากันที่ระยะห่างจากประจุ เท่ากัน มีชื่อเรียกว่าเส้นศักย์เท่า สังเกตในการทดลอง เส้นศักย์เท่าของจุดประจุเป็นทรงกลมหลายๆชั้นล้อมรอบประจุไว้ตรงกลาง ศักย์ไฟฟ้า V และ พลังงานศักย์ไฟฟ้า U= qV เป็นปริมาณที่แตกต่างกัน และมีหน่วยต่างกัน ศักย์ไฟฟ้า V เทียบได้กับความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง และพลังงานศักย์ไฟฟ้า U = qV เทียบได้กับพลังงานศักย์โน้มถ่วง U = mgh ครับ.....
|
|
|
|
ittiwat
|
 |
« ตอบ #87 เมื่อ: ธันวาคม 08, 2010, 04:29:19 pm » |
|
นาย อิทธิวัตร จิตต์มั่นคงกุล นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ รหัส 115310903037-5 เลขที่ 54 sec 2 ตอบกระทู้วันที่ 8/12/53 เวลา 16.51 น. สถานที่ บ้าน สนามแรงโน้มถ่วงอยู่ในทิศทางเดียวกับ h สนามไฟฟ้า ที่อยู่ในทิศทางเดียวกับความต่างศักย์ V สนามอุณหภูมิที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ T หน่วยเมตริก งานคือจูล ประจุ คือ คูลอมบ์ และ ความต่างศักย์คือโวลต์ เพราะฉะนั้นสมการบนจะเป็น 1 จูล = ( 1 คูลอมบ์) x ( 1 โวลต์) แนวคิดของศักย์ไฟฟ้า V ในสนามไฟฟ้า เป็นแนวคิดเดียวกันกับ ความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง ดังนั้นที่ระดับความสูงเดียวกัน ศักย์โน้มถ่วงเท่ากัน เส้นศักย์ที่ลากผ่านเส้นสนามไฟฟ้าของจุดประจุจะเท่ากันที่ระยะห่างจากประจุเท่ากัน มีชื่อเรียกว่าเส้นศักย์เท่า สังเกตในการทดลอง เส้นศักย์เท่าของจุดประจุเป็นทรงกลมหลายๆชั้นล้อมรอบประจุไว้ตรงกลาง ศักย์ไฟฟ้า V และ พลังงานศักย์ไฟฟ้า U= qV เป็นปริมาณที่แตกต่างกัน และมีหน่วยต่างกัน ศักย์ไฟฟ้า V เทียบได้กับความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง และพลังงานศักย์ไฟฟ้า U = qV เทียบได้กับพลังงานศักย์โน้มถ่วง U = mgh
|
|
|
|
sathian757
|
 |
« ตอบ #88 เมื่อ: ธันวาคม 10, 2010, 12:40:34 pm » |
|
นายเสถียร ปานามะเส คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัสประจำตัว115340441203-9 ตอบกระทู้วันที่ 10/12/53 เวลา 12:40น. สถานที่ หอพัก นวนคร
แนวคิดของพลังงาน เมื่อเรายกหินขึ้นจากพื้นดิน และกำหนดให้พื้นดินมีพลังงานเป็นศูนย์ เหนือพื้นดินแสดงว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นบวก ใต้พื้นดินแสดงว่าพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นลบ พลังงานเท่ากับ งานในการยกวัตถุ จากพื้นไปจนถึงระดับที่ต้องการ ซึ่งเท่ากับ น้ำหนักของวัดถุ (mg) คูณกับความสูง h แนวคิดของสนามไฟฟ้า สนามแรงโน้มถ่วงอยู่ในทิศทางเดียวกับ h (เส้นแนวดิ่งที่เชื่อมจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างของศักย์โน้มถ่วง) เช่นเดียวกับสนามไฟฟ้า ที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ V ( เส้นที่เชื่อมจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้า ยกตัวอย่างเช่น ขั้วไฟฟ้าของแบตเตอรี่) และเช่นเดียวกันกับสนามอุณหภูมิที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ T ( เส้นที่เชื่อมจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างของอุณหภูมิ เช่นอูณหภูมิที่เตา กับอูณหภูมิรอบเตา) ความสัมพันธ์ระหว่างประจุ ความต่างศักย์ และงาน เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ งาน = ประจุ x ความต่างศักย์ หน่วยเมตริก งานคือจูล ประจุ คือ คูลอมบ์ และ ความต่างศักย์คือโวลต์ เพราะฉะนั้นสมการบนจะเป็น 1 จูล = ( 1 คูลอมบ์) x ( 1 โวลต์)
|
|
|
|
THANAKIT
|
 |
« ตอบ #89 เมื่อ: ธันวาคม 10, 2010, 09:21:08 pm » |
|
นายธนกฤต เฉื่อยฉ่ำ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัส 115340441248-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 ธันวาคม 2553 ที่ บ้าน เวลา 21.22 ศูนย์โวลต์มมีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เปรียบเทียบกับพื้นผิวโลก ภาษาทางไฟฟ้าเรียกว่า ดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเีดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน เป็นต้น การเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างกันของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศูนย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
|