Thatree Srisawat
|
 |
« ตอบ #30 เมื่อ: ธันวาคม 01, 2010, 09:28:59 pm » |
|
นาย ธาตรี ศรัสวัสดิ์ นักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี sec02 เลขที่71 รหัส 115310906029-9 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 1 เดือน ธันวาคม พศ.2553 ที่บ้าน เวลา 21.26น.สรุปได้ว่า ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้
|
|
|
|
SUMET SAMONKEDKET
|
 |
« ตอบ #31 เมื่อ: ธันวาคม 01, 2010, 09:52:47 pm » |
|
ผมนาย สุเมศร์ สมรเขตกิจ นักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) sec 17 รหัส 115340441239-3 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 1 ธันวาคม 2553 ณ หอพักเฉลิมพล เวลา 21.52 น
เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน
|
|
|
|
Mickey2010
|
 |
« ตอบ #32 เมื่อ: ธันวาคม 01, 2010, 10:00:02 pm » |
|
นางสาวปัทมา วงษ์แก้วฟ้า เลขที่55 sec02 รหัส 115310903038-3 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่1/12/53 เวลา 21.54 น. สถานที่บ้านของตนเอง อ่านแล้วสรุปได้ว่า แนวคิดของ "โวลต์" เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า คือ การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังศักย์ต่ำ ส่วนแรงโน้มถ่วงฝนจะตกจากที่สูงไปยังที่ต่ำ สำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
sasithorn
|
 |
« ตอบ #33 เมื่อ: ธันวาคม 01, 2010, 10:10:58 pm » |
|
นางสาว ศศิธร ลิ่มสกุล sec 02b รหัส 1153109030102 เลขที่ 43 สาขาสถิติประยุกต์ วันที่ 1/12/53 เวลา 22.05 ณหอใน โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง เเละความเเตกต่างของอุณหภูมิได้ กระเเสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของเเรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ เเละสำหรับความร้อนโมเลกุลของเเก๊ชจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงสู่อุณหภูมิต่ำเสมอ
|
|
|
|
Kotchapan
|
 |
« ตอบ #34 เมื่อ: ธันวาคม 01, 2010, 11:32:41 pm » |
|
นาย คชพันธ์ พงษ์ไพร นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา 115330411048-5 เลขที่ 41 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 01/12/2553 สถานที่ กิตติพงษ์แมนชั่น เวลา 23.32 น.
กระแสไฟฟ้า คือ การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ กรณีของแรงโน้มถ่วง เช่น การที่ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุดสองจุด คือนิยามของความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิ จากแนวคิดของพลังงาน เมื่อยกหินขึ้นจากพื้นดิน และกำหนดให้พื้นดินมีพลังงานเป็นศูนย์เหนือพื้นดินพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นบวกและใต้พื้นดินพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นลบ พลังงานเท่ากับงานในการยกวัตถุจากพื้นไปจนถึงระดับที่ต้องการ ซึ่งเท่ากับ น้ำหนักของวัตถุคูณกับความสูง และวางประจุอิเล็กตรอนในศักย์ไฟฟ้า พลังงานศักย์ที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้าจะเท่ากับประจุ q คูณกับความต่างศักย์ V จากแนวคิดของสนามไฟฟ้า สนามแรงโน้มถ่วงอยู่ในทิศทางเดียวกับความสูง(h) เช่นเดียวกับสนามไฟฟ้า ที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ V และเช่นเดียวกันกับสนามอุณหภูมิที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ T ความสัมพันธ์ระหว่างประจุ ความต่างศักย์ และงาน เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ งาน = ประจุ x ความต่างศักย์
หน่วยเมตริก งานคือจูล ประจุ คือ คูลอมบ์(c) และ ความต่างศักย์คือโวลต์(v) เพราะฉะนั้นสมการบนจะเป็น 1 จูล = ( 1 คูลอมบ์) x ( 1 โวลต์) จากแนวคิดของศักย์ไฟฟ้า V ในสนามไฟฟ้า เป็นแนวคิดเดียวกันกับ ความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง ดังนั้นที่ระดับความสูงเดียวกัน ศักย์โน้มถ่วงเท่ากัน เส้นศักย์ที่ลากผ่านเส้นสนามไฟฟ้าของจุดประจุจะเท่ากันที่ระยะห่างจากประจุ เท่ากัน มีชื่อเรียกว่าเส้นศักย์เท่า สังเกตในการทดลอง เส้นศักย์เท่าของจุดประจุเป็นทรงกลมหลายๆชั้นล้อมรอบประจุไว้ตรงกลาง ศักย์ไฟฟ้า V และ พลังงานศักย์ไฟฟ้า U= qV เป็นปริมาณที่แตกต่างกัน และมีหน่วยต่างกัน ศักย์ไฟฟ้า V เทียบได้กับความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง และพลังงานศักย์ไฟฟ้า U = qV เทียบได้กับพลังงานศักย์โน้มถ่วง U = mgh
|
|
|
|
Tarintip
|
 |
« ตอบ #35 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 12:11:17 am » |
|
นางสาวธารินทิพย์ วรรณกลาง sec02 นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ เลขที่60 รหัส115310903046-6 ตอบกระทู้วันที่2/12/53 เวลา24.02 สถานที่หอใน สรุปว่า นิยามความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปศักย์ต่ำ แรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ ความร้อนโมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่จากอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่าง 2 จุด
|
|
|
|
suchart
|
 |
« ตอบ #36 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:30:24 am » |
|
ผมนาย สุชาติ สุวรรณวัฒน์ นักศึกษา วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 2 รหัส 115210441230-7 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2/12/2553 เวลา 2.30 น. ณ หอพักเฉลิมพล
สรุปว่า ศูนย์โวลต์มมีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เปรียบเทียบกับพื้นผิวโลก ภาษาทางไฟฟ้าเรียกว่า ดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน เป็นต้น การเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างกันของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศูนย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
shanonfe11
|
 |
« ตอบ #37 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 03:13:50 am » |
|
นายชานนท์ ชุมพร sec 02 เลขที่19 รหัส 115210417028-5 ตอบกระทู้วันที่ 02/12/53 เวลา03.13 น. ณ หอฟ้าใสแมนชั่น โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วหนึ่งของแบตไปยังอีกขั้วหนึ่ง (สมมติให้แบตมีความต่างศักย์ 12 โวลต์) ถ้าเรากราวด์ขั้วหนึ่งของแบต อีกขั้วหนึ่งวัดความต่างศักย์ได้ 12 โวลต์ เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าไม่ได้กราวด์ไว้ แต่ต่อขั้วของแบตเข้ากับศักย์ไฟฟ้า 100 โวลต์ อีกขั้วหนี่งของแบตจะวัดได้ 112 โวลต์เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าวัดเทียบกับอีกขั้วหนึ่งของแบตยังเป็น 12 โวลต์ เช่นเดียวกัน หินตกจากยอดตึกที่สูง 10 เมตร ลงบนพื้น แสดงว่ามีความต่างศักย์โน้มถ่วง 10 เมตร หรือถ้าบนพื้นขุดหลุมลึกลงไปอีก 10 เมตร หินยังคงตกต่อไปอีก 10 เมตร จึงจะถึงก้นหลุม ความต่างศักย์กรณีนี้คือ 20 เมตร สรุปว่า ถ้าเราวัดเทียบกับพื้น ความต่างศักย์เป็น 10 เมตร แต่เทียบกับก้นหลุมเป็น 20 เมตร
|
|
|
|
rungniran
|
 |
« ตอบ #38 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 10:33:19 am » |
|
ผมนายรุ่งนิรันดร์ สอนจันทร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411005-5 sec 04 เลขที่ 5 ที่สวนสุทธิ์พันธุ์ วันที่2 ธ.ค. 54 เวลา 10.35 am. แนวคิดของศักย์ไฟฟ้า V ในสนามไฟฟ้า เป็นแนวคิดเดียวกันกับ ความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง ดังนั้นที่ระดับความสูงเดียวกัน ศักย์โน้มถ่วงเท่ากัน เส้นศักย์ที่ลากผ่านเส้นสนามไฟฟ้าของจุดประจุจะเท่ากันที่ระยะห่างจากประจุเท่ากัน มีชื่อเรียกว่าเส้นศักย์เท่า สังเกตในการทดลอง เส้นศักย์เท่าของจุดประจุเป็นทรงกลมหลายๆชั้นล้อมรอบประจุไว้ตรงกลาง ศักย์ไฟฟ้า V และ พลังงานศักย์ไฟฟ้า U= qV เป็นปริมาณที่แตกต่างกัน และมีหน่วยต่างกัน ศักย์ไฟฟ้า V เทียบได้กับความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง และพลังงานศักย์ไฟฟ้า U = qV เทียบได้กับพลังงานศักย์โน้มถ่วง U = mgh
|
|
|
|
ดนุพร อ่อนศรี
|
 |
« ตอบ #39 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 10:55:24 am » |
|
นายดนุพร อ่อศรี น.ศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ sec 02 เลขที่72 รหัส 115040472024-7 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม 2553 โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วหนึ่งของแบตไปยังอีกขั้วหนึ่ง (สมมติให้แบตมีความต่างศักย์ 12 โวลต์) ถ้าเรากราวด์ขั้วหนึ่งของแบต อีกขั้วหนึ่งวัดความต่างศักย์ได้ 12 โวลต์ เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าไม่ได้กราวด์ไว้ แต่ต่อขั้วของแบตเข้ากับศักย์ไฟฟ้า 100 โวลต์ อีกขั้วหนี่งของแบตจะวัดได้ 112 โวลต์เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าวัดเทียบกับอีกขั้วหนึ่งของแบตยังเป็น 12 โวลต์ เช่นเดียวกัน หินตกจากยอดตึกที่สูง 10 เมตร ลงบนพื้น แสดงว่ามีความต่างศักย์โน้มถ่วง 10 เมตร หรือถ้าบนพื้นขุดหลุมลึกลงไปอีก 10 เมตร หินยังคงตกต่อไปอีก 10 เมตร จึงจะถึงก้นหลุม ความต่างศักย์กรณีนี้คือ 20 เมตร สรุปว่า ถ้าเราวัดเทียบกับพื้น ความต่างศักย์เป็น 10 เมตร แต่เทียบกับก้นหลุมเป็น 20 เมตร
|
|
|
|
kodchaporn
|
 |
« ตอบ #40 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 01:33:33 pm » |
|
น.ส. กชพร เพ็งคำเส็ง เลขที่23 sec02 รหัส 115210417059-0 วันที่ 2/12/53 เวลา 13.33 ที่ห้องสมุด
สรุปว่า....
เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน
|
|
|
|
00sunisa00
|
 |
« ตอบ #41 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 01:50:16 pm » |
|
น.ส.สุนิศา ชมมิ sec2 เลขที่ 40 115310903001-1 สาขาวิชาสถิติประยุกต์ วัน 2/12/53 เวลา 13.50 ที่ ห้องสมุด สรุปได้ว่า โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เรานิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ทั้งหมดนั้นมาจากความแตกต่างระหว่าง 2จุด
|
|
|
|
shanon_ie
|
 |
« ตอบ #42 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 01:52:50 pm » |
|
ชานนทื วรรณพงษ์ เลขที่ 4 รหัส 115040441083-1 sec 02 ตอบวันที่ 02-12-53 เวลา 13.55 น. ณ หอพัก สรุป ได้ว่า ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน :  : 
|
|
|
|
soawanee
|
 |
« ตอบ #43 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:03:34 pm » |
|
นางสาวเสาวณีย์ อนันต์ เลขที่ 66 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ รหัส 1153109030532 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 02/12/2553 เวลา 14.02 ณ.ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน
|
|
|
|
bobo
|
 |
« ตอบ #44 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:04:22 pm » |
|
นางสาวสุนิสา หมอยาดี นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชา สถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 68รหัส 115310903055-7วันที่2/12/2553 เวลา 14.05 สถานที่ ห้องสมุด แนวคิดของ "โวลต์" เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า คือ การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังศักย์ต่ำ ส่วนแรงโน้มถ่วงฝนจะตจากที่สูงไปยังที่ต่ำ สำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
ittiwat
|
 |
« ตอบ #45 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:06:08 pm » |
|
นายอิทธิวัตร จิตต์มั่นคงกุล คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี sec02 เลขที่54 รหัส 115310903037-5 วันที่ 2 /12/53 สถานที่ บ้าน เวลา 14.20 ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้
|
|
|
|
nuubuoe
|
 |
« ตอบ #46 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:11:17 pm » |
|
นางสาวจรีรัตน์ ชะโปรัมย์ เลขที่57 sec02 รหัส 115310903040-9คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่2/12/53 เวลา 14.11 น.สถานที่ห้องสมุด อ่านแล้วสรุปได้ว่า แนวคิดของ "โวลต์" เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า คือ การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังศักย์ต่ำ ส่วนแรงโน้มถ่วงฝนจะตกจากที่สูงไปยังที่ต่ำ สำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด 
|
|
|
|
Kamphon
|
 |
« ตอบ #47 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:14:25 pm » |
|
นายกัมพล มิ่งฉาย คณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 2-12-2010 เวลา 14.14 น. ที่วิทยบริการ ศูนย์โวลต์มมีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เปรียบเทียบกับพื้นผิวโลก ภาษาทางไฟฟ้าเรียกว่า ดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน เป็นต้น การเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างกันของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศูนย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
Benjawan Onnual
|
 |
« ตอบ #48 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:37:48 pm » |
|
นางสาวเบญจวรรณ อ่อนนวล เลขที่ 49 sec 02 รหัส 1153109030326 สาขาวิชาสถิติประยุกต์ ตอบกระทู้เมื่อ 2/12/2553 เวลา 14.37 น. ณ หอพักนำรงค์แมนชัน สรุปได้ว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิ เป็นได้ดังนี้ กระแสไฟฟ้า คือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังศักย์ต่ำ ส่วนกรณี ของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ สำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณภูมืสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ซึ่งทั้งหมดนี้มาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
sarayut sringam
|
 |
« ตอบ #49 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 03:19:53 pm » |
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม 2553 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.20น มีความคิดเห็นว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
แนวคิดของพลังงาน เมื่อเรายกหินขึ้นจากพื้นดิน และกำหนดให้พื้นดินมีพลังงานเป็นศูนย์ เหนือพื้นดินแสดงว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นบวก ใต้พื้นดินแสดงว่าพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นลบ พลังงานเท่ากับ งานในการยกวัตถุ จากพื้นไปจนถึงระดับที่ต้องการ ซึ่งเท่ากับ น้ำหนักของวัตถุ (mg) คูณกับความสูง h วางประจุอิเล็กตรอนในศักย์ไฟฟ้า พลังงานศักย์ที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้าจะเท่ากับ ประจุ q คูณกับความต่างศักย์ V
แนวคิดของสนามไฟฟ้า สนามแรงโน้มถ่วงอยู่ในทิศทางเดียวกับ h (เส้นแนวดิ่งที่เชื่อมจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างของศักย์โน้มถ่วง) เช่นเดียวกับสนามไฟฟ้า ที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ V ( เส้นที่เชื่อมจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้า ยกตัวอย่างเช่น ขั้วไฟฟ้าของแบตเตอรี่) และเช่นเดียวกันกับสนามอุณหภูมิที่อยู่ในทิศทางเดียวกับ T ( เส้นที่เชื่อมจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างของอุณหภูมิ เช่นอุณหภูมิที่เตา กับอุณหภูมิรอบเตา) ความสัมพันธ์ระหว่างประจุ ความต่างศักย์ และงาน เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ งาน = ประจุ x ความต่างศักย์ หน่วยเมตริก งานคือจูล ประจุ คือ คูลอมบ์ และ ความต่างศักย์คือโวลต์ เพราะฉะนั้นสมการบนจะเป็น 1 จูล = ( 1 คูลอมบ์) x ( 1 โวลต์) แนวคิดของศักย์ไฟฟ้า V ในสนามไฟฟ้า เป็นแนวคิดเดียวกันกับ ความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง ดังนั้นที่ระดับความสูงเดียวกัน ศักย์โน้มถ่วงเท่ากัน เส้นศักย์ที่ลากผ่านเส้นสนามไฟฟ้าของจุดประจุจะเท่ากันที่ระยะห่างจากประจุเท่ากัน มีชื่อเรียกว่าเส้นศักย์เท่า สังเกตในการทดลอง เส้นศักย์เท่าของจุดประจุเป็นทรงกลมหลายๆชั้นล้อมรอบประจุไว้ตรงกลาง ศักย์ไฟฟ้า V และ พลังงานศักย์ไฟฟ้า U= qV เป็นปริมาณที่แตกต่างกัน และมีหน่วยต่างกัน ศักย์ไฟฟ้า V เทียบได้กับความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง และพลังงานศักย์ไฟฟ้า U = qV เทียบได้กับพลังงานศักย์โน้มถ่วง U = mgh
|
|
|
|
Suphakorn
|
 |
« ตอบ #50 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 04:44:38 pm » |
|
กระผมนาย สุภากร หงษ์โต นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441211-3 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม 2553 เวลา 16.44 น. ที่หอพัก gooddream มีความคิดเห็นว่า เป็นแนวคิดโดยใช้ความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังมีแนวคิดเรื่องอุณหภูมิในเรื่องความร้อนอีกด้วย โดยการเปรียบศักย์ไฟฟ้ากับความสูง เมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจาก ศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
thabthong
|
 |
« ตอบ #51 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 05:17:20 pm » |
|
กระผมนายรัตชานนท์ ทับทอง นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม 2553 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 17.16 น เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน
|
|
|
|
ศราวุธ พูลทรัพย์
|
 |
« ตอบ #52 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 05:52:36 pm » |
|
นายศราวุธ พูลทรัพย์ 115330411042-8 sec.04 เลขที่ 35 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ตอบกระทู้ที่หอลากูล วันที่ 2/12/2553 เวลา 17.52น. เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา อ่านแล้วสรุปได้ว่า แนวคิดของ "โวลต์" เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า คือ การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังศักย์ต่ำ ส่วนแรงโน้มถ่วงฝนจะตกจากที่สูงไปยังที่ต่ำ สำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด
|
|
|
|
ronachai
|
 |
« ตอบ #53 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 06:01:05 pm » |
|
นาย รณชัย รุกขวัฒน์ วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411002-2 sce 4 กะทู้เมื่อ 2 ธ.ค. 2553 เวลา 19.01 น. ณ หอพัก แนวคิดของศักย์ไฟฟ้า V ในสนามไฟฟ้า เป็นแนวคิดเดียวกันกับ ความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง ดังนั้นที่ระดับความสูงเดียวกัน ศักย์โน้มถ่วงเท่ากัน เส้นศักย์ที่ลากผ่านเส้นสนามไฟฟ้าของจุดประจุจะเท่ากันที่ระยะห่างจากประจุเท่ากัน มีชื่อเรียกว่าเส้นศักย์เท่า สังเกตในการทดลอง เส้นศักย์เท่าของจุดประจุเป็นทรงกลมหลายๆชั้นล้อมรอบประจุไว้ตรงกลาง ศักย์ไฟฟ้า V และ พลังงานศักย์ไฟฟ้า U= qV เป็นปริมาณที่แตกต่างกัน และมีหน่วยต่างกัน ศักย์ไฟฟ้า V เทียบได้กับความสูง h ในสนามแรงโน้มถ่วง และพลังงานศักย์ไฟฟ้า U = qV เทียบได้กับพลังงานศักย์โน้มถ่วง U = mgh
|
|
|
|
Nattawut
|
 |
« ตอบ #54 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 06:08:45 pm » |
|
นายณัฐวุฒิ ชูพินิจ คณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 2ธันวาคม 2553เวลา 18.10 น. ที่ร้านเน้ต ศูนย์โวลต์มมีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เปรียบเทียบกับพื้นผิวโลก ภาษาทางไฟฟ้าเรียกว่า ดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน เป็นต้น การเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างกันของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศูนย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด
|
|
|
|
alongkorn hunbuathong
|
 |
« ตอบ #55 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 06:12:00 pm » |
|
นายอลงกรณ์ หุ่นบัวทอง สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411026-1 เลขที่ 20 กลุ่ม 53341cve sec04 เลขที่ 20 วันที่ 2/12/2553 เวลา 18.12น. ณ บ้านบางชันวิลล่า กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศักย์สูงไปยังที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วงการที่ฝนจะตกจากที่สูงไลงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุ โดยเมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วหนึ่งของแบตไปยังอีกขั้วหนึ่ง (สมมติให้แบตมีความต่างศักย์ 12 โวลต์) ถ้าเรากราวด์ขั้วหนึ่งของแบต อีกขั้วหนึ่งวัดความต่างศักย์ได้ 12 โวลต์ เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าไม่ได้กราวด์ไว้ แต่ต่อขั้วของแบตเข้ากับศักย์ไฟฟ้า 100 โวลต์ อีกขั้วหนี่งของแบตจะวัดได้ 112 โวลต์เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าวัดเทียบกับอีกขั้วหนึ่งของแบตยังเป็น 12 โวลต์
|
|
|
|
civil kang
|
 |
« ตอบ #56 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 06:29:17 pm » |
|
นาย สราวุฒิ ดีดวงพันธ์ 115330411028-7 sec 4 วิศวกรรมโยธา 2/12/2553 เวลา 18:29 ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน
|
|
|
|
|
Pichat Soysamrong
|
 |
« ตอบ #58 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 07:10:30 pm » |
|
กระผม นาย พิเชษฐ์ สร้อยสำโรง นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 4 รหัสประจำตัว 115330411003-0 เลขที่ 3 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2553 ที่ เศรษฐบุตร พาวิลเลี่ยน 32/19 ม. 1 ต. คลองหก อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี เวลา 07:09:29 pm สรุปได้ว่า ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน
|
|
|
|
PoxyDonZ
|
 |
« ตอบ #59 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 07:17:41 pm » |
|
นาย สุรศักดิ์ ด้วงใจจิตร รหัส 115330411036-0 วิศวกรรมโยธา เวลา 07.18 pm. วันที่ 2 ธ.ค. 53 สถานที่ หอร์ โฟร์บี 2 เป็นแนวคิดเดียวกับความสูง ในสนามแรงโน้มถ่วง และยังเป็นแนวคิดเดียวกันกับอุณหภูมิในเรื่องของความร้อน โดยการเปรียบเทียบกับระดับอ้างอิง และเรียกปริมาณที่ใช้วัดว่า ศักย์ไฟฟ้า ศักย์โน้มถ่วง และอุณหภูมิเป็นต้น โดยกำหนดขึ้นเป็นตัวเลขสามารถวัดเป็นปริมาณได้ ศูนย์โวลต์มีความหมายว่า เป็นโวลต์ที่เทียบกับพื้นผิวโลก ดังนั้นภาษาทางไฟฟ้าจึงเรียกว่าดิน หรือ กราวด์ ในกรณีเดียวกันเมื่อพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นโลก และเช่นเดียวกันกับ อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน โดยการวัดเทียบกับระดับอ้างอิง เราจึงนิยามกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ความต่างศักย์โน้มถ่วง และความแตกต่างของอุณหภูมิได้ กระแสไฟฟ้าคือการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าจากศํกย์สูงไปที่ศักย์ต่ำ ส่วนในกรณีของแรงโน้มถ่วง ฝนจะตกจากที่สูงไปที่ต่ำ และสำหรับความร้อน โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่จากอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ำเสมอ ทั้งหมดมาจากความแตกต่างระหว่างจุด 2 จุด เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วหนึ่งของแบตไปยังอีกขั้วหนึ่ง (สมมติให้แบตมีความต่างศักย์ 12 โวลต์) ถ้าเรากราวด์ขั้วหนึ่งของแบต อีกขั้วหนึ่งวัดความต่างศักย์ได้ 12 โวลต์ เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าไม่ได้กราวด์ไว้ แต่ต่อขั้วของแบตเข้ากับศักย์ไฟฟ้า 100 โวลต์ อีกขั้วหนี่งของแบตจะวัดได้ 112 โวลต์เมื่อเทียบกับกราวด์ อย่างไรก็ตามถ้าวัดเทียบกับอีกขั้วหนึ่งของแบตยังเป็น 12 โวลต์ เช่นเดียวกัน หินตกจากยอดตึกที่สูง 10 เมตร ลงบนพื้น แสดงว่ามีความต่างศักย์โน้มถ่วง 10 เมตร หรือถ้าบนพื้นขุดหลุมลึกลงไปอีก 10 เมตร หินยังคงตกต่อไปอีก 10 เมตร จึงจะถึงก้นหลุม ความต่างศักย์กรณีนี้คือ 20 เมตร สรุปว่า ถ้าเราวัดเทียบกับพื้น ความต่างศักย์เป็น 10 เมตร แต่เทียบกับก้นหลุมเป็น 20 เมตร ความร้อนก็มีลักษณะเหมือนกัน ความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 100 ถึง 30 องศาเซลเซียส จะเท่ากับความต่างของอุณหภูมิระหว่าง 50 ถึง -20 องศาเซลเซียส
|
|
|
|
|