กรกฎาคม 03, 2022, 07:05:09 pm
ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
1 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
1 เดือน
ตลอดกาล
เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว
:
หน้าแรก
ช่วยเหลือ
ค้นหา
ปฏิทิน
สมาชิก
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
RmutPhysics.com
>
หมวดหมู่ทั่วไป
>
เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
>
เครื่องกำเนิดสัญญาณและความถี่
หน้า: [
1
]
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
ผู้เขียน
หัวข้อ: เครื่องกำเนิดสัญญาณและความถี่ (อ่าน 2055 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
เครื่องกำเนิดสัญญาณและความถี่
«
เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 20, 2011, 11:41:44 pm »
ที่มา
http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/electric4/bottee5.htm
เครื่องกำเนิดสัญญาณ (Signal Generator) เป็นเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ คือว่าเป็นเครื่องมือวัดที่จำเป็นต่อการใช้งานอีกชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่ให้สัญญาณรูปร่างต่าง ๆ ขึ้นมา เป็นสัญญาณที่มีมาตรฐาน สามารถควบคุมปรับแต่งได้ทั้งระดับความแรง และความถี่ โดยทำหน้าที่เป็นแหล่งกำเนิดสัญญาณมาตรฐาน เพื่อใช้งานในการตรวจสอบปรับแต่ง วัดเปรียบเทียบค่า หรือใช้อ้างอิง นำไปใช้งานในวงจรหรือเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: เครื่องกำเนิดสัญญาณและความถี่
«
ตอบ #1 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 20, 2011, 11:42:49 pm »
เครื่องกำเนิดความถี่เสียง
เป็นเครื่องที่ทำงานของวงจรอิเล็คทรอนิกส์ในย่านความถี่เสียง มีย่านอยู่ในช่วง 20Hz-20KHzเครื่องมือชนิดนี้จะผลิตสัญญาณ เป็นรูปเคลื่นซายน์ และสี่เหลียม เราสามารถเปลียนค่าคสามถี่และขนาดของแอมปลิจูลทางเอาต์พุตของสัญญาณของเครื่องกำเนิด ความถี่ประมาณ 25 Vmax พิสัยย่านการวัดในช่วง 20 Hz-20KHz วงจร ออสซิลเลเตอร์ มีอยู่ 2 แบบ
วงจรออสซิลเลเตอร์แบบวีนบริดจ์ เพราะว่ามันเสถียรภาพของรูปคลื่นเอาท์พุตและความถี่ใช้งานคงที่รูปแบบที่ใช้งานจริง
75.jpg
(39.2 KB, 635x419 - ดู 1027 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: เครื่องกำเนิดสัญญาณและความถี่
«
ตอบ #2 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 20, 2011, 11:44:04 pm »
เครื่องกำเนิดความถี่วิทยุ
เป็นเครื่องที่ผลิตสัญญาณหรือผลิตความถี่วิทยุหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอาร์ เอฟซิกแนลให้เอาท์พุต30K - 300 MHz
วงจรภาคที่หนึ่ง เป็นวงจรเปรยบเทียบแรงดันและกำเนิดสัญญาณรูปคลืนจัตุรัส วงจรภาคที่ 2 เป็นวงจรอินทิเกรต ทำหน้าที่กำเนิดสํญญาณทางเอาท์พุต
แผนที่บล็อกของฟังก์ชันเจเนอเลเตอร์เบื้องต้น ประกอบด้วยวงจรอินติเกรทที่เป็นตัวป้อนสัญญาณสามเหลี่ยมให้กับวงจรจุดชนวนของชมิตต์และตัวแปลงผันคลื่นไซน์
81.jpg
(31.43 KB, 768x391 - ดู 1003 ครั้ง.)
80.jpg
(45.79 KB, 675x339 - ดู 1066 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: เครื่องกำเนิดสัญญาณและความถี่
«
ตอบ #3 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 20, 2011, 11:44:37 pm »
ประโยชน์การใช้งาน
ประโยชน์ใช้งานของเครื่องกำเนิดสัญญาณมีมากมายหลายประการด้วยกัน กล่าวโดยสรุปเป็นข้อ ๆ ได้ดังนี้
1.ใช้เป็นแหล่งกำเนิดสัญญาณมาตรฐาน เพื่อป้อนไปใช้งาน
2. ใช้เป็นแหล่งกำเนิดสัญญาณอ้างอิง เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ
3. ใช้เพื่อการทดสอบและปรับแต่งเครื่องมือและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิด เช่น เครื่องรับวิทยุ เครื่องขยายเสียง เครื่องรับส่งวิทยุ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
4.ใช้ในการตรวจซ่อมอุปกรณ์ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
5. ใช้เป็นอุปกรณ์ร่วมในการทำงานทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
6. ใช้ในการตรวจซ่อมอุปกรณ์ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
หน้า: [
1
]
พิมพ์
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
กระโดดไป:
เลือกหัวข้อ:
-----------------------------
ฟิสิกส์ 1
-----------------------------
=> การวัด
=> เวกเตอร์
=> การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ
=> การเคลื่อนที่บนระนาบ
=> กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> การประยุกต์กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> งานและพลังงาน
=> การดลและโมเมนตัม
=> การหมุน
=> สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
=> การเคลื่อนที่แบบคาบ
=> ความยืดหยุ่น
=> กลศาสตร์ของไหล
=> ปริมาณความร้อน และ กลไกการถ่ายโอนความร้อน
=> กฎข้อที่หนึ่งและสองของเทอร์โมไดนามิก
=> คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
=> การสั่นและคลื่น
=> เสียง
-----------------------------
ฟิสิกส์ 2
-----------------------------
=> ไฟฟ้าสถิต
=> สนามไฟฟ้า
=> ความกว้างของสายฟ้า
=> ศักย์ไฟฟ้า
=> ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน
=> กระแสไฟฟ้า
=> สนามแม่เหล็ก
=> การเหนี่ยวนำ
=> ไฟฟ้ากระแสสลับ
=> ทรานซิสเตอร์
=> สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ
=> แสงและการมองเห็น
=> ทฤษฎีสัมพัทธภาพ
=> กลศาสตร์ควอนตัม
=> โครงสร้างของอะตอม
=> นิวเคลียร์
-----------------------------
วัสดูศาสตร์ (Material science)
-----------------------------
=> ความหมายของวัสดุศาสตร์
=> โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมี
=> การจัตตัวของอะตอมและโครงสร้างผลึก
=> การแข็งตัวของโลหะ ความไม่สมบูรณ์ของผลึก
=> คุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุ
=> สมบัติเชิงกลของโลหะ
=> วัสดุพอลิเมอร์
=> เฟสไดอะแกรม
=> โลหะ
=> วัสดุเซรามิก
=> การกัดกร่อน
=> เรืองอื่นๆทางวัสดุศาสตร์
-----------------------------
หมวดหมู่ทั่วไป
-----------------------------
=> คลังข้อสอบฟิสิกส์
=> อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
=> เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
=> สาระเกี่ยวกับระบบโทรคมนาคม
=> ไฟฟ้าน่ารู้
=> สมาชิก แนะนำตัวที่นี่ครับ
=> ดาราศาสตร์
=> ธรรมะดีๆๆ สอนใจ
=> คณิตศาสตร์ E-BOOK
=> แคลคูลัส สำหรับวิศวกร ตัวอย่างโจทย์และข้อสอบเก่าๆ
=> คลายเครียด
=> สาระความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ
=> สาระเกี่ยวกับพลังงาน และเชื้อเพลิง
=> สาระน่ารู้เรื่องน้ำดื่ม และกระบวนการ RO
=> ขอความร่วมมือสมาชิกทุกท่าน
=> อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
=> เรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับสเต็มเซลล์
=> แนะนำสมาชิก
=> แหล่งความรู้ทั่วไป
กำลังโหลด...