4. สเปคตรัมของอะตอม | |||||||||
ในการศึกษาเกี่ยวกับสเปคตรัมของอะตอมของธาตุชนิดต่าง ๆ พบว่าธาตุชนิดเดียวกันจะให้สเปคตรัมเหมือนกัน และธาตุต่างชนิดกันจะให้สเปคตรัมที่ต่างกัน โดยสเปคตรัมที่พบมีอยู่ 3 ชนิดคือ | |||||||||
4.1 สเปคตรัมต่อเนื่องแถบสว่าง เกิดจากการเผาของแข็งหรือให้ร้อน แสดงว่าเมื่อสารได้รับความร้อนจะให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกความยาวช่วงคลื่นอย่างต่อเนื่อง | |||||||||
4.2 สเปคตรัมเส้นสว่าง เกิดจากการเผาก๊าซให้ร้อน แสดงว่าก๊าซร้อนจะให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาเพียงบางค่าเท่านั้น | |||||||||
4.3 สเปคตรัมเส้นมืด เกิดจากการให้แสงมีความถี่ต่อเนื่องผ่านก๊าซเย็น แสดงว่าก๊าซเย็นจะดูดพลังงานไว้เพียงบางค่าเท่านั้น | |||||||||
|
|||||||||
ในปี ค.ศ. 1888 บาลเมอร์ (J.Balmer) ได้หาความสัมพันธ์ของความยาวคลื่นแสงที่ตามองเห็นจากการเผาก๊าซไฮโดรเจน โดยเขียนเป็นสมการได้ดังนี้ | |||||||||
|
|||||||||
|
|||||||||
โดย ผศ.ปรียา อนุพงษ์องอาจ |
|||||||||
อ้างอิง : http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/particlesandwaves/particlesandwaves.html
|
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่
การเรียนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต