8.1 การผลิตเลเซอร์ | ||||
โดยปกติแล้วอะตอมจะอยู่ในสถานะเรียกว่า สถานะพื้น (Ground State) ถ้าอะตอมได้รับพลังงานเพิ่มก็จะทำให้อิเล็กตรอนของอะตอมนั้นสามารถขึ้นไปอยู่ในระดับพลังงานที่สูงขึ้น และเรียกสถานะนี้ว่า สถานะกระตุ้น (Excited State) ดังรูป (ก) | ||||
| ||||
อะตอมที่มีระดับพลังงานสูงสามารถคืนกลับสู่ระดับพลังงานสถานะพื้นฐานที่ต่ำกว่าได้
โดยการคายพลังงานออกมาในรูปของโฟตอนที่มีพลังงาน ( ![]() | ||||
ในกรณีการเกิดเลเซอร์นั้นจะต้องใช้วิธีในการทำให้อะตอมขึ้นไปอยู่ในสถานะกระตุ้นแล้วกลับลงมาสู่สถานะพื้นฐานพร้อม ๆ กัน จะทำให้พลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอนที่ปล่อยออกมามีเฟสตรงกันทั้งหมด จะทำให้พลังงานมีค่ามากและมีความเข้มสูง ดังรูป (ค) | ||||
| ||||
| ||||
| ||||
| ||||
โดย ผศ.ปรียา
อนุพงษ์องอาจ | ||||
อ้างอิง :
http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/particlesandwaves/particlesandwaves.html
|
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่
การเรียนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต