2. อิเล็กตรอนวิ่งรอบนิวเคลียสเป็นวงกลมได้ด้วยแรงดึงดูดระหว่างประจุไฟฟ้าซึ่งเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ | ||||||
|
||||||
|
||||||
3. พลังงานที่ยึดเหนี่ยวอิเล็กตรอนไว้มีค่าเท่ากับผลรวมของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ที่เกิดขึ้นระหว่างประจุ เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ | ||||||
|
||||||
4. การเปลี่ยนสถานะคงตัวเกิดขึ้นเมื่ออิเล็กตรอนจะขยับจากวงโคจรนอกไปยังวงในจะมีการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาในรูปของการเปล่งแสงหรือแผ่รังสีเป็นโฟตอนหนึ่งตัวปริมาณเท่ากับ นั่นคือ | ||||||
|
||||||
ในเมื่อ ![]() ![]() |
||||||
ถ้าผลต่างของพลังงานใน 2 ระดับชั้นใด ๆ มีค่ามาก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่อิเล็กตรอนแผ่ออกมาก็จะมีค่ามากตามไปด้วย แสดงว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะมีความถี่สูงหรือมีความยาวคลื่นน้อย ในทางกลับกันถ้าผลต่างของพลังงานใน 2 ระดับชั้นใด ๆ มีค่าน้อย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่อิเล็กตรอนแผ่ออกมาก็จะมีค่าน้อยด้วย แสดงว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะมีความถี่ต่ำหรือมีความยาวคลื่นมากนั่นเอง | ||||||
จากสมมติฐานของบอร์ทำให้สามารถคำนวณหารัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอน และพลังงานยึดเหนี่ยวของอิเล็กตรอนได้ดังนี้ | ||||||
ก. การหารัศมีอะตอมของไฮโดรเจน | ||||||
กำหนดให้อิเล็กตรอนวิ่งด้วยอัตราเร็ว เป็นวงกลมรัศมี r รอบนิวเคลียสของอะตอมไฮโดรเจน ดังรูป | ||||||
โดย ผศ.ปรียา อนุพงษ์องอาจ |
||||||
อ้างอิง : http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/particlesandwaves/particlesandwaves.html
|
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่
การเรียนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต