|
||||||||||||||||||
ถึงแม้ว่าจะเป็นแบบจำลองที่ยอมรับกันว่าใกล้เคียงความเป็นจริง แต่ก็ยังไม่สามารถอธิบายได้ว่า เหตุใดประจุไฟฟ้าบวกจึงรวมกันอยู่ในนิวเคลียสได้ทั้ง ๆ ที่เกิดแรงผลัก และทำไมอิเล็กตรอนวิ่งวนรอบนิวเคลียสได้โดยไม่สูญเสียพลังงาน สิ่งเหล่านี้เป็นข้อบกพร่องของแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด จึงทำให้นักวิทยาศาสตร์อื่น ๆ เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมขึ้นใหม่ | ||||||||||||||||||
5.3 ทฤษฎีโครงสร้างอะตอมของบอร์ | ||||||||||||||||||
ในปี ค.ศ. 1913 บอร์ (Neil
Bohr) นักฟิสิกส์ชาวเดนมาร์ก ได้เสนอแบบจำลองอะตอมขึ้นมาใหม่โดยขยายความคิดแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
และอาศัยแนวความคิดเกี่ยวกับควอนตัมและพลังงานที่ว่าแต่ละหน่วยแสงมีของพลังงานเป็น
|
||||||||||||||||||
1. อิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบนิวเคลียสอยู่ได้โดยไม่มีการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เพราะว่าอิเล็กตรอนจะมีโมเมนตัมเชิงมุม (L) เป็นจำนวนเท่าของ ![]() |
||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||
โดย ผศ.ปรียา อนุพงษ์องอาจ |
||||||||||||||||||
อ้างอิง : http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/particlesandwaves/particlesandwaves.html
|
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่
การเรียนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต