|
เข็มทิศ (compass) เมื่อคุณยืนอยู่บนผิวโลก และกำลังถือเข็มทิศไว้บนมือ ให้สังเกตครับว่า เข็มของมันจะชี้ไปยังทิศเหนือเสมอ ดูไปแล้วไม่น่าแปลกใจอะไร เพราะเห็นกันอยู่เสมอ แต่มันจะเป็นสิ่งที่เหลือเชื่อทันที เมื่อคุณอยู่ในเรือที่วิ่งอยู่ในมหาสมุทรไม่เห็นฝั่ง และวันนั้นท้องฟ้ามืดครึ้มมองไม่เห็นพระอาทิตย์ เห็นแต่น้ำกับฟ้ามืด คุณจะทราบได้อย่างไรว่า เรือกำลังวิ่งไปในทิศทางไหนถ้าไม่มีเข็มทิศ ปัจจุบันการเดินทางในมหาสมุทร ใช้ระบบนำร่อง แบบดาวเทียม GPS ทันสมัยมาก อย่างไรก็ตามถ้าไฟฟ้าดับ หรือเหตุขัดข้องอันไม่คาดฝัน กัปตันเรือต้องหันมาใช้เข็มทิศ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่หาได้ง่ายยิ่ง ที่แม้แต่ผู้โดยสารก็มีติดตัว เข็มทิศทำไมจึงชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ และไปเกี่ยวข้องกับสนามแม่เหล็กโลกได้อย่างไร ฟิสิกส์ราชมงคลจะตอบปัญหานี้ให้กับคุณ พร้อมกับแนะนำการสร้างเข็มทิศอย่างง่ายในหน้าถัดไป เข็มทิศหาซื้อได้ทั่วไป |
|||
|
อาร์คิมีดิส กาลครั้งหนึ่ง นานมาแล้วบนแผ่นดินเซอราคิวส์ ที่ตั้งของประเทศกรีซใน ปัจจุบัน นักคณิตศาสตร์ผู้ปราดเปรื่องท่านหนึ่งได้คิดทฤษฎีว่าด้วยรูปทรง ปริมาตร ดวงดาว และกลศาสตร์ ต่างๆ มากมาย เวลาที่ผ่านเนิ่นนานมา ค่อยๆ ย่อยทำลายประวัติอันน่าสนใจของท่านจนเหลือเพียงเรื่องราวของ นักวิทยาศาสตร์สติเฟื่องที่ร้อง ยูเรก้า แล้ววิ่งแจ้นมาจากโรงอาบน้ำ เพื่อพิสูจน์มงกุฎทองคำของพระราชา
คลิกอ่านต่อครับ |
|||
วิทยาศาสตร์วาทะ
ถ้ามีที่ให้ข้า ฯ ยืนได้อย่างมั่นคง ข้า ฯ จะใช้คานงัดโลกให้เคลื่อนที่ได้ : อาร์คีมีดีส (287-212 ก่อน ค.ศ.) นักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ชาวกรีกผู้เป็นบิดาแห่งวิชากลศาสตร์ ผู้ค้นพบกฎของคานงัดซึ่งนำไปประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง , กฎการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุรูปทรงต่างๆ ประดิษฐ์ระหัดวิดน้ำ และเป็นผู้ค้นคิดกฏเกี่ยวกับการหาพื้นที่ทรงกลมและอื่นๆ
| ||||
|
||||
|
กิ้งก่า คามีเลียน (Chameleon) พุ่งลิ้นไปจับแมลง เป็นระยะทาง 16 cm ด้วยเวลา 0.10 วินาที a) จงคำนวณหาความเร่ง โดยประมาณว่าความเร่งคงที่ b) ในเวลา 0.05 วินาที ลิ้นของกิ้งก่าตัวนี้ พุ่งไปได้ มากกว่า น้อยกว่า หรือ เท่ากับ 8 cm |
|
การทดลองเสมือนจริงทฤษฎีของพิธากอรัส นักศึกษาลองศึกษาทฤษฎีพิธากอรัส และอธิบายว่าทำไม c2 = a2+ b2
|
บูมเมอแรง (Boomerang) บทนำ เมื่อพวกเราคิดถึงบูมเมอแรง ก็มักจะคิดไปถึงหนังการ์ตูน ที่ตัวการ์ตูนขว้างวัตถุรูปทรงคล้ายกล้วยหอม พอหลุดจากมือมันจะหมุนโค้งไปเป็นระยะไกล และวกกลับยังผู้ขว้าง (ถ้าเป็นหนังการ์ตูนที่ตลกนิดๆ มันจะชนเข้ากับศีรษะของผู้ขว้าง ทำให้คนดูหัวเราะขำกลิ้ง ) อุปกรณ์นี้ไม่ได้มีแต่เพียงหนังการ์ตูนเท่านั้น มันมีอยู่จริง เรียกว่าบูมเมอแรง มีลักษณะดังรูป ฟิสิกส์ราชมงคลจะกระเทาะความลึกลับซับซ้อนทางฟิสิกส์ของบูมเมอแรงให้คุณได้ทราบว่ามันวกกลับมาหาคุณได้อย่างไร และหาผู้ประดิษฐ์คนแรกว่าเป็นใครกัน ในหน้าถัดไป คลิกครับ | |||||
ถ้าสนใจข้อมูลการวัด คลิกเข้าไปที่ ที่มาของการวัด หรือ คลิก ตารางแปลงหน่วย หรือสนใจระบบ SI ให้ คลิกคิดแบบเมตริก คลิกกลับเข้าสู่หน้าหลัก
|
การวาดกราฟโดยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด
วิธีทดลอง
บันทึกข้อมูล
ตอนที่ 1
t (วินาที) |
0 |
1 |
2 |
3 |
4 |
v ( เมตร/วินาที) |
10 |
13 |
14 |
17 |
19 |
สมการเส้นตรงที่ได้จากการทดลอง คือ y = ........ x + ..........
แผ่นใสเรื่องโครงสร้างอะตอม | |
มีทั้งหมด 8 ชุดเรียงอย่างต่อเนื่อง |
![]() |
ชุดที่ 1 แบบจำลองของนักวิทยาศาสตร์ต่างๆ คลิกครับ |
ชุดที่ 2 วงโคจรของอิเล็กตรอน คลิกครับ | |
ชุดที่ 3 ปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กตริก คลิกครับ | |
ชุดที่ 4 โมเมนตัมของแสง คลิกครับ | |
ชุดที่ 5 เลขควอนตัม คลิกครับ | |
ชุดที่ 6 บรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัล คลิกครับ | |
ชุดที่ 7 เลขอะตอมมิก คลิกครับ | |
ชุดที่ 8 ใจกลางเครื่องปฏิกรณ์ คลิกครับ | |
แผ่นใสเรื่อง Physics of the atom ของ Dr. Rachen Ratanarojanakul จำนวน 43 แผ่น |
วีดีโอการศึกษา
ไจโรสโคป มีคุณสมบัติชี้ไปในทิศทางเดียวตลอดเวลา โดยไม่ต้องคำนึงถึงตำแหน่งของฐานว่าจะเอียงไปอย่างไร ในวีดีโอมีการทดลองให้เห็นอย่างชัดเจน บนกระสวยอวกาศจึงใช้ไจโรสโคปนำวิถี เพื่อนำยานกลับสู่โลก คลิกครับ (Windows media 2.5 MB) | |
การทดลองกฎการคงตัวของโมเมนตัมเชิงมุม บนเก้าอี้หมุน คลิกครับ (windows media 1.3 MB) |
ภาพถ่ายความเร็วสูง ของนักกีฬาโอลิมปิค วิ่ง
100 เมตร ชาย ถ่ายไว้เมื่อปี 1996 ในแอตแลนต้า
ความละเอียดของภาพคือ 1 ใน 10 วินาที คนแรกที่ผ่านเส้นชัย
คือ นาย Donovan Bailey ทำส
ลำดับที่ | คนที่นับจากด้านบน | เวลาที่ทำได้ (วินาที) |
1 | 5 | 9.84 |
2 | ||
3 | ||
4 | ||
5 |
ร่วมแสดงความคิดเห็นโดยการโวต |
|