1
|
|
2
|
|
3
|
- โลหะ
- เซรามิก
- พลาสติก โพลิเมอร์
- วัสดุผสม
|
4
|
- วัสดุทางแสง
- วัสดุแม่เหล็ก
- วัสดุทางการแพทย์
- วัสดุอิเลกทรอนิกส์
|
5
|
- คุณสมบัติทั่วไป เช่น นำไฟฟ้า เงา นำความร้อน
- นิยามของ ความแข็ง ความเหนียว ฯลฯ
|
6
|
|
7
|
|
8
|
|
9
|
|
10
|
- เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastics) เป็นพลาสติกที่อ่อนตัวเมื่อถูกความร้อน และแข็งตัวเมื่อเย็นลง
พลาสติกประเภทนี้สามารถนำมาหลอมและขึ้นรูปใหม่ได้ ตัวอย่างของพลาสติกประเภทนี้
ได้แก่ โพลีเอทธิลีน (PE) โพลีโพรพิลีน (PP) โพลีสไตรลีน (PS) โพลีไวนิลคลอไรด์
(PVC) โพลีเอสเตอร์ (PET)
- เทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting) เป็นพลาสติกที่เกิดปฎิกริยาเคมีเมื่อนำไปขึ้นรูป
พลาสติกประเภทนี้ไม่สามารถนำไปหลอมเพื่อนำมาใช้ใหม่ ตัวอย่างของพลาสติกประเภทนี้
ได้แก่ โพลียูเรเธน (PUR) อีพอกซี่ (Epoxy) ฟีโนลิค (Phenolic) เมลามีน (Melamine)
|
11
|
|
12
|
|
13
|
|
14
|
|
15
|
- REFUSE ไม่จำเป็นก็อย่าใช้
- REUSE ใช้ซ้ำอีก
- RECYCLE หมดสภาพก็นำไปแปรรูปใหม่
|
16
|
- ยางสด (latex) กรีดได้จากผิวของต้นยางพารานั้นมีลักษณะข้นขาว เมื่อสะสมยางสดไว้แล้วก็ชั่งหาน้ำหนักขาย
|
17
|
- ยางดิบมักจะเยิ้มเป็นยางเหนียวในฤดูร้อน และแข็งเปราะหักง่ายในฤดูหนาวเมื่ออุณหภูมิลดลง
จนกระทั่งใน พ.ศ. ๒๓๘๒ ชาลส์ กูดเยียร์ (Charles Goodyear, ค.ศ. ๑๘๐๐-๑๘๖๐
ชาวอเมริกัน) ผู้ซึ่งได้พยายามคิดค้นหาวิธีแก้ปัญหานี้อยู่ บังเอิญทำก้อนยางที่ผสมกับกำมะถันตกลงไปในเตาขณะที่ทำการทดลองอยู่
ผลปรากฏว่ายางก้อนนั้นเปลี่ยนคุณสมบัติเป็นยางที่ดี ไม่อ่อนเสียรูปเวลาร้อนและไม่เปราะหักง่ายเวลาเย็น
- วิธีการเปลี่ยนยางดิบให้มีคุณสมบัติดีขึ้นโดยผสมกับกำมะถันนี้ คือวิธีวัลคาไนเซชัน
(vulcanization มาจากคำว่า vulcan ซึ่งเป็นชื่อของเทพเจ้าแห่งไฟของชาวโรมันโบราณ)
ยางที่ได้รับการอบแบบวัลคาไนเซชันแล้วนี้จะยังคงความยืดหยุ่นได้ดีอยู่
|
18
|
- ความจำเป็นในการใช้ยางในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ ๑ ทำให้นักวิทยาศาสตร์ของหลายประเทศต้องคิดค้นหายางเทียม
(synthetic rubber) ขึ้นใช้แทนยางธรรมชาติ ประเทศเยอรมันถูกตัดขาดจากแหล่งยางธรรมชาติ
เนื่องจากการล้อมของฝ่ายสัมพันธมิตรจึงต้องดิ้นรนขวนขวายค้นคว้าประดิษฐ์ยางเทียมขึ้น
|
19
|
- แข็งแรงแม้ที่อุณหภูมิสูง ทนทานต่อการสึกกร่อน ผุกร่อน เป็นฉนวนความร้อน เป็นฉนวนไฟฟ้า
- แก้ว กระเบื้อง ดินเหนียว คือตัวอย่างง่ายๆของเซรามิก
- วัสดุเซรามิกสมัยใหม่ ได้แก่ piezoelectric
|
20
|
- โดยจริงแล้ววัสดุที่เป็นที่สนใจของนักวัสดุศาสตร์จะหมายถึง สสารที่มีสมบัติที่เหมาะสมต่อการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
- ดังนั้นเราจึงอาจไม่เรียกทุกอย่างในโลกนี้ว่าวัสดุ ตัวอย่างเช่น เราไม่เรียกต้นมะพร้าวว่าวัสดุ
แต่ถ้าเรานำเส้นใยที่ได้จากมะพร้าวมาปั่นเป็นเส้นใยแล้วปั่นเป็นเส้นเชือกแล้ว
นั่นคือวัสดุ
|
21
|
- จงอธิบายแนวโน้มการใช้งานวัสดุจากกอดีตสู่ปัจจุบันว่ามนุษย์ใช้ โลหะ กับ พลาสติก
เป็นอัตราส่วนระหว่างกันมากขึ้น หรือน้อยลง
- เหล็กดิบ เหล็กหล่อ เหล็กกล้า แตกต่างกันอย่างไร
|