อะมีบา Lynn Margulis ชี้ว่า การรวมตัวและความร่วมมือกันของเซลล์ไม่ได้เกิดขึ้นเพียงช่วงเวลาเดียว แต่เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอยางต่อเนื่องเป็นหัวใจสำคัญของกระบวนการวิวัฒนาการ โลกเต็มไปด้วย symbiosis บางกระบวนการพบเห็นได้อย่างเด่นชัด เช่น เห็ด ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความทนทานมากที่สุดในยุคปัจจุบัน มันสามารถเจริญงอกงามได้ในหลายพื้นที่แทบทุกสภาพอากาศ ไม่ว่าในทะเลทรายหรือบนยอดเขาสูง เห็นเป็นการรวมตัวผสมผสานกันระหว่างราและพืชทะเลบางชนิด ปะการังที่มีชีวิตจำนวนมากมีระบบสังเคราะห์แสงที่ได้รับมาจากพืชทะเลบางชนิด นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันแบบหลวม ๆ อีกหลายรูปแบบ เช่น ภายในกระเพาะของสัตว์ประเภทโค กระบือ มีสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ช่วยย่อยสลายเซลลูโลสของหญ้า สัตว์หลายชนิดดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยความร่วมมือกับแบคทีเรียในรูปแบบต่าง ๆ แต่เชื้อโรคที่สร้างให้เกิดความเจ็บป่วยและความผิดปกติ เป็นกระบวนการด้านลบที่เรียกได้ว่าเป็นการฉกฉวยแย่งชิงที่มีผลลัพธ์เป็นการทำลาย ลักษณะสำคัญประการหนึ่งของโลกชีวภาพคือ ความร่วมมือเพื่อการดำรงอยู่ร่วมกัน การพึ่งพาอาศัยกัน เริ่มต้นขับเคลื่อนด้วยสิ่งมีชีวิต ขนาดจิ๋ว กระบวนการเคมีพื้นฐาน เยื่อหุ้ม การสังเคราะห์แสง เอนไซม์ พัฒนาการเกิดขึ้นทีละขั้น เซลล์ที่มีนิวเคลียสเริ่มพัฒนาศักยภาพใหม่ ๆ จากการรวมตัวกันเป็นโครงสร้างที่มีความซับซ้อน มีระบบการทำงานที่หลากหลายมากขึ้น เนื้อเยื่อต่าง ๆ ถูกสร้างขึ้นในขั้นตอนนี้และเริ่มมีลักษณะเฉพาะตัว กับสามารถส่งผ่านหน่วยทางพันธุกรรมสืบทอดไปยุ่งรุ่นต่อไป โดยมีเงื่อนไขอยู่ว่ายิ่งมีความหลากหลาย ก็ยิ่งเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อการอยู่รอดเซลล์เหล่านี้เริ่มใช้ประโยชน์จากออกซิเจนที่สะสมอยู่ในบรรยากาศมานานหลายพันล้านปี เพื่อการดำรงชีวิตและขยายพันธุ์ แล้วในที่สุดหลังจากบทโหมโรงอันยาวนานของแบคทีเรีย มหากาพย์แห่งชีวิตก็เข้าสู่ยุคของการประสานพลังเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน สิ่งมีชีวิตอีกรูปแบบหนึ่งได้แก่อะมีบา (amoeba) ซึ่งมีลักษณะพิเศษเป็นเหมือนกับหยดน้ำเล็ก ๆ ที่แปรรูปเปลี่ยนไปได้ระหว่างที่มันเคลื่อนที่ อะมีบามีนิวเคลียสและมีประสาทสัมผัสผ่านของเหลวที่ห่อหุ้มอยู่รอบตัว แต่เราพบหลักฐานซากฟอสซิลของอะมีบาน้อยมาก eukayotic ที่พบส่วนใหญ่จัดอยู่ในตระกูลพืชและราหลายชนิด ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าและความซับซ้อนมากกว่า cyano bacteria บางส่วนอาศัยอยู่ร่วมกับ prokaryotes ในชั้นของหินงอก บางชนิดมีลักษณะกลม บางชนิดมีปุ่มคล้ายหนามรอบตัว มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ส่วน 5 ของมิลลิเมตร สิ่งมีชีวิตเหล่านี้เริ่มพัฒนาสร้างผิวห่อหุ้มที่มีความหนามากขึ้น
what is amoeba อาณาจักรทางท้องสมุทรถูกครอบครองโดยพืชและรา ซึ่งขยายตัวแพร่พันธุ์อย่างรวดเร็วและมีรูปทรงต่าง ๆ กันจากระดับน้ำที่วนเวียนขึ้นลงเป็นวัฏจักร โลกเริ่มผสมผสานโยงใยเครือข่ายของชีวิตในท้องสมุทรและพื้นผิวทวีป กระบวนการทางเคมีดำเนินไปอย่างแพร่หลายมหาสมุทรเริ่มหายใจ ขณะที่พื้นผิวทวีปเริ่มอุดมสมบูรณ์ไปด้วยชีวิต | |
หน้าที่ | |
อาจารย์ รอฮิม ปรามาท แปล ฟิสิกส์ราชมงคลขอขอบคุณมากครับ |
วิวัฒนาการ 6 บท |
|
บทที่ 1 1/6 กำเนิดและวิวัฒนาการของธรรมชาติ กำเนิดจักรวาล ความคิดของนาย Friedman
นักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซีย ทฤษฎี Big Bang
กำเนิดสุริยะจักรวาล กำเนิดโลก การแบ่งชั้นของโลก
ร่องลึกในมหาสมุทร จำนวน 57 แ่ผ่น
คลิกค่ะ
|
|
บทที่ 2 2/6 กำเนิดสิ่งมีชีวิตชนิดแรก โมเลกุลของสารประกอบอินทรีย์
ชีวิตเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต การทดลองของเรดิ และหลุยส์ปาสเตอร์
แนวความคิดของอริสโตเติล Polymerization เคลวิน
นักชีวเคมีขาวเยอรมัน จำนวน 56 แ่ผ่น
คลิกค่ะ
|
|
บทที่ 3 3/6 Evolution เมื่อ 3900 ล้านปีก่อน วิวัฒนาการคืออะไร
นักอนุกรมวิธาน ทฤษฎีวิวัฒนาการ นายลามาร์ค นาย ชาร์ล ดาร์วิน
กลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ หมู่เกาะกาลาปากอส นายมัลทัส จำนวน 40
แ่ผ่น
คลิกค่ะ
|
|
บทที่ 4 4/6 กลไกการวิวัฒนาการ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การแปรผันทางพันธุกรรม
เมนาลิซึมของผีเสื้อกลางคืน การกระจายตัวของประชากรผีเสื้อ
ผู้ถูกล่าและผู้ล่า จำนวน 28 แ่ผ่น
คลิกค่ะ
|
|
บทที่ 5 5/6 หลักฐานทางวิวัฒนาการ ความจริงที่เกิดขึ้นในอดีต ซากดึกดำบรรพ์
นกกลุ่มที่บินไม่ได้ โครงสร้างของสิ่งมีชีวิต สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ลำดับเบสบนสายดีเอ็นเอ การคัดเลือกพันธุ์ และความรู้ทางพันธุ์ศาสตร์ จำนวน
39 แ่ผ่น
คลิกค่ะ
|
|
บทที่ 6 6/6 หลักฐานทางวิวัฒนาการ ข้อแตกต่างระหว่างมนุษย์และลิง
สายวิวัฒนาการของมนุษย์ มนุษย์วานร สปีชีส์สุดท้าย ค้นพบฟอสซิลของมนุษย์
การแบ่งเผ่าพันธุ์มนุษย์ จำนวน 37 แ่ผ่น
คลิกค่ะ
|
|
แสง แสงในช่วงที่ตามองเห็น คุณสมบัติคู่ของแสง
การสะท้อนและการหักเห สมการของเลนส์ ความคลาด (aberrations)
สายตาสั้นและยาว กล้องโทรทรรศน์ การแทรกสอด อ.นงลักษณ์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นผู้บรรยาย จำนวน 114
แผ่น
คลิกค่ะ
|
![]() |
![]() |
![]() |
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฟิสิกส์ 1 | หนังสือฟิสิกส์ 1 ภาคกลศาสตร์ | หนังสือฟิสิกส์ 1 ภาค ของไหล ความร้อนและคลื่น |