11-8-1 ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
22 จากรูป
11.21 จงคำนวณงานอย่างน้อยที่สุดในการเคลื่อนประจุ
+10-6 และ 10-6 คูลอมบ์ จาก
A ไป B
ถ้าศักย์ไฟฟ้าที่จุด
A และ B มีค่า 10
และ 100 โวลต์ ตามลำดับ
ตัวอย่าง
23 จากตัวอย่าง
22 ถ้าเคลื่อนประจุทั้งสองจาก
B ไป A จะต้องทำงานอย่างน้อยที่สุดเท่าใด
ตัวอย่าง 24
จากรูป จงคำนวณศักย์ไฟฟ้าที่จุด
P ถ้า q
= 1x10-8 คูลอมบ์
และ a = 1 เมตร
ตัวอย่าง 25
จุดหนึ่งห่างจากประจุ +2
คูลอมบ์ ปรากฏว่ามีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ
4 โวลต์
โดยที่ประจุวางอยู่ในตัวกลางชนิดหนึ่งซึ่งไม่ใช่สุญญากาศ
จงคำนวณค่าศักย์ไฟฟ้าที่อีกจุดหนึ่งซึ่งอยู่ห่างจากประจุออกมาเป็นระยะ
2
เท่าของระยะตอนแรกและอยู่ในตัวกลางเดียวกัน
ตัวอย่าง 26
จากรูป จุดประจุ
q มีค่า
1x10-6 คูลอมบ์ ถามวว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด
A และ B ในรูป (ก)
และ (ข)
มีค่าต่างกันอยู่เท่าใด
ตัวอย่าง 27
จากรูป จงคำนวณค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด
A และ B
ตัวอย่าง
28 ประจุไฟฟ้าสองประจุ
q และ +q
มีขนาด 1.0x10-8
คูลอมบ์เท่ากัน วางห่างกัน 3
เมตร ดังรูป ถ้าปล่อยประจุ 1.0x10-9
คูลอมบ์ที่จุด A
ประจุนั้นจะผ่านจุด B
ด้วยพลังงานจลน์เท่าใด
ตัวอย่าง 29
ตัวนำทรงกลมหนึ่งรัศมี 10
เซนติเมตร มีประจุ 2x10-8
คูลอมบ์ เลื่อนประจุ
1x10-8 คูลอมบ์จากจุดที่ห่างจุดศูนย์กลางของทรงกลมเป็นระยะ
25 เซนติเมตร
ไปจนถึงระยะอนันต์จะต้องทำงานเท่าใด
ตัวอย่าง
30 ถ้า
เป็นสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอ
จงเปรียบเทียบงานที่ทำในการเลื่อนประจุ
+q จาก
A ไป B และจาก
A ไป C
ในรูปที่กำหนดให้
เมื่อแนว BC
ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า
ตัวอย่าง
31 ถ้า
เป็นสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอมีขนาด
12 โวลต์ต่อเมตร
จงหางานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุทดสอง
3.0x10-6
คูลอมบ์จากจุด A ไปตาม
A®B®C
จนถึงจุด C
ดังแสดงในรูป
ตัวอย่าง 32
A เป็นทรงกลมต้นรัศมี
3 เซนติเมตร
มีประจุ +300
คูลอมบ์อยู่บนผิวทรงกลม
B เป็นทรงกลมตันรัศมี
4 เซนติเมตร
เมื่อใส่ประจุ +500
คูลอมบ์ลงใน B แล้วใช้ลวดต่อระหว่าง
B กับ A ให้ถึงกัน
ถามว่าในที่สุดแล้วทรงกลมทั้งสองจะมีประจุไฟฟ้าเท่าไร
ตัวอย่าง 33
เคลื่อนประจุ +Q2 จากระยะอนันต์มายังตำแหน่งซึ่งห่างจากประจุ
+Q1
เป็นระยะ r ดังรูป
จงคำนวณงานอย่างน้อยที่สุดที่ใช้ในการเคลื่อนประจุ
+Q2
ดังกล่าว
ตัวอย่าง 34 โปรตอนสองตัวประจุเท่ากัน 1.6x10-19 คูลอมบ์ วางห่างกัน 6x10-15 เมตร จงคำนวณพลังงานศักย์ไฟฟ้าของระบบ
ตัวอย่าง
35 จากรูป
แผ่นตีวนำใหญ่มากวางตัวขนานกันอยู่
แผ่นหนึ่งมีประจุบวกอีกแผ่นหนึ่งมีประจุลบ ถ้าอิเล็กตรอนเคลื่อนที่จากจุด
A ไปจุด B
พลังงานศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กตรอนจะเป็นอย่างไร
ตัวอย่าง
36 จากตัวอย่าง
35 ถ้าปล่อยให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อย่างอิสระจาก
C ไป A พลังงานทั้งหมดของอิเล็กตรอนจะเป็นอย่างไร
1. ลดลง 2.เพิ่มขึ้น 3. คงเดิม 4. เป็นสัดส่วนกับระยะจากแผ่นล่าง
ตัวอย่าง 37
จากตัวอย่าง 35
ถ้าเปรียบเทียบพลังงานศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กตรอนกับโปรตอนที่จุด
C จะพบว่า
1.
โปรตอนน้อยกว่าอิเล็กตรอน
2.
โปรตอนมากกว่าอิเล็กตรอน
3.
เท่ากัน
4.
บอกไม่ได้
ตัวอย่าง 38 แผ่นตัวนำขนานกันสองแผ่นวางห่างกัน 0.2 เซนติเมตร ทำให้เกิดสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอตามแนวดิ่งมีทิศพุ่งลง ถ้าต้องการให้อิเล็กตรอนลอยอยู่นิ่ง ๆ ได้ที่ตำแหน่งหนึ่งระหว่างตัวนำขนานกันนี้ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างแผ่นตัวนำขนานกันจะเป็นเท่าใด
หน้า ดัชนีตอนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ มานัส มงคลสุข ฟิสิกส์ราชมงคลขอขอบคุณมากครับ
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่