เอกสารการเรียนการสอน PDF
หน้า 4
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ ความยืดหยุ่น 1/19 วัตถุถูกแรงกระทำ
ทำให้พื้นที่และปริมาตรเปลี่ยน สภาพอัดได้ (
Compressibility) Modulusของความยืดหยุ่น
ตัวอย่างความยืดหยุ่น
คลื่นในตัวกลางยืดหยุ่น คลื่นตามขวางและคลื่นตามยาว
คลื่นผสม สึนามิคลื่นมรณะ คลื่นในน้ำลึกและน้ำตื้น PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ ฟังก์ชั่นของคลื่นที่เึคลื่อนที่ 2/19
ตัวอย่างของคลื่นที่เคลื่อนที่ไปทางขวา คาบและความถี่เชิงมุม
สรุปฟังก์ชั่นคลื่นรูปไซน์ ความเร็วเฟส
ทดสอบความเข้าใจกันหน่อย PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ อัตราเร็วของคลื่นเสียง 3/19
ขึ้นกับคุณสมบัติของตัวกลางนั้นๆ บัลค์โมดูลัส (Bulk
modulus) พิสูจน์อัตราเร็วของเสียงในตัวกลาง
การรวมกันของคลื่น (Superposition of waves)
การแทรกสอดของคลื่น คลื่นสถิต บัพและปฏิบัพ
คลื่นสะท้อนจากปลายตรึง และปลายอิสระ PDF
|
.![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ การวมกันของคลื่น 4/19 การแทรกสอดของคลื่น
คลื่นสถิต การโมดูเลชั่น ความเร็วกลุ่ม
บีสต์ นกร้องเพลง บีสต์จากนกเพนกวิน
และคุณภาพเสียง PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ Thermal physics 5/19 ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ความดัน (Pressure) กับพลังงานจลน์ของก๊าซ
อุณหภูมิในทางจลนศาสตร์ ปัญหาน่าคิด
อุณหภูมิต่ำทีี่บนผิวโลก Laser cooling
ฟิสิกส์ี่่ที่อูณหภูมิต่ำ อูณหภูมิสูงที่สุด
PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ ความร้อนจำเาพาะ 6/19 การแทรกสอดของคลื่น
คลื่นสถิต การโมดูเลชั่น ความเร็วกลุ่ม
บีสต์ นกร้องเพลง บีสต์จากนกเพนกวิน
และคุณภาพเสียง PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ กฎของก๊าซในอุดมคติ 7/19 แผนภาพ P-V
และแผนภาพ P-T ค่าคงที่ของ Avogadro
ก๊าซจริงและก๊าซอุดมคติ แรงแวนเดอวาล
ศาสตราจารย์แวนเดอวาล Rudoff Clausius
การแจกแจงความเร็วของโมเลกุล และกราฟของแมกซ์เวลล์ PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ การแจกแจงความเร็วของโมเลกุลก๊าซ 8/19 Vrms
การแจกแจงคะแนนของนักศึกษา นาย เจมส์ Clerk
Maxwell อัตราเร็วเฉลี่ย Vavg
อัตราเร็วที่เป็นไปได้มากที่สุด เส้นทางอิสระเฉลี่่ย PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ อุีีีีีีณหพลศาสตร์ 9/19
กระบวนการทางเทอร์โมไดนามิก งานในการเปลี่ยนปริมาตรขของก๊าซ
วัฏจักรของกระบวนการทางความร้อน กฎข้อที่หนึ่งและกฎการอนุรักษ์พลังงาน PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิก 10/19 ความร้อน
กรณีพิเศษในกฎข้อที่หนึ่ง กระบวนการ adiabatic
Isochoric Isobaric
กระบวนการที่เป็นวัฏจักร การขยายตัวแบบอิสระ
คิดสนุกๆกับ Quantum Vacuum
และพลังงานจากสสารมืด PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ Isochoric Process 11/19 กระบวนการ
Isobaric และ Isothermal
ความจุความร้อนและความร้อนจำเพาะ เมื่อปริมาตรคงที่ Cv
และความดันคงที่ Cp
และค่าแกมม่า PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ กฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์ 12/19 สายน้ำที่ไหลไปแล้วไม่หวนกลับ
กระสุนที่ลั่นออกไป และโอกาสอันแสนดีที่ผ่านเลยไป
ทิศทางของเวลา กระบวนการที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้
ลูกศรของเวลา เมื่อระบบเข้าสู่สภาวะสมดุล
คำถามและคำอธิบาย PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ การเปลี่ยนแปลงของเอนโทรปี 13/19 กระบวนการอุณหภูมิคงที่
การเปลี่ยนแปลงที่อุณหภูมิเปลี่ยนน้อยๆ ฟังก์ชั่นสถานะ
เอนโทรปีคงที่ การเพิ่มขึ้นของเอนโทรปี PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ เครื่องยนต์ 14/19
การเปลี่ยนพลังงานความร้อนให้เป็นงาน สารตัวทำงาน (
Working Substance) นาย Sadi carnot
เครื่องจักรของคาร์โน วัฏจักรคาร์โน
เอนโทรปีที่เปลี่ยนไป และประสิทธิภาพของเครื่องยนต์คาร์โน
เทอร์โมไดนามิกกับคอมพิวเตอรื ควอนตัมคอมพิวเตอร
ความหมายของเอนโทรปี PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ ปรากฎการณ์ขนส่ง 15/19 การฟุ้งของโมเลกุล
การเคลื่อนที่แบบบราวน์ ครบ 100 ปีของไอน์สไตน์ กฎของฟิกด์
Gradientของฟังก์ชั่น 1 และ 2 ตัวแปร PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ เกรเดียนท์ 16/19 สมการการฟุ้ง
อัตราการสะสมโมเลกุลในปริมาตร การฟุ้งในสภาวะคงตัว
การฟุ้งในท่อปลายเปิดและท่อปลายปิด ทฤษฎีโมเลกุลของการฟุ้ง PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ ทฤษฎีโมเลกุลของการฟุ้ง 17/19 Mean Free path
ค่าสัมประสิทธ์การฟุ้งจากทฤษฎีโมเลกุล
ความหนืดของของไหล การฟุ้ง VS.
ความหนืด ความเค้นเฉือน PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ ความหนืดของของไหล 18/19
มวลความเร็วสูงและมวลความเร็วต่ำ กฎการไหลที่ความหนืด
สมการความหนืด ค่าสัมประสิทธิ์ความฟุ้ง กฎของสโตก
ความเร็วสุดท้าย ( Terminal Speed) PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ กลศาสตร์ของไหล 19/19 อุทกพลศาสตร์
สายกระแส หลอดของการไหล สมการความต่อเนื่อง
ฟลักซ์มวล และฟลักซ์ของปริมาตร นาย
Daniel Bernoulli สมการของแบร์นูลลี
แรงยกของปีกเครื่องบิน โศกนาฏกรรมของยอดนักแข่งรถไอตัน เซนา PDF |
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ แบบฝึกหัดชุดที่ 1 20/19 |
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ แบบฝึกหัดชุดที่ 2 21/19 ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ PDF
|
![]() |
ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ แบบฝึกหัดชุดที่ 3 22/19
|
![]() |
เครื่องยนต์ Stirling
เครื่องยนต์สเตอร์ลิง เป็นเครื่องยนต์ความร้อนระบบปิด
2 จังหวะ ใช้ความร้อนจากภายนอก
และใช้ก๊าซเป็นสารทำงาน ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในปี 1816
โดย Robert Stirling
คลิกค่ะ PDF |
![]() |
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการใช้ประโยชน์
ในอดีตมนุษย์ที่มนุษย์ยังไม่รู้จักคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ก็ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามากนัก
แต่ในปัจจุบันมนุษย์รู้จักและเข้าใจพฤติกรรมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นอย่างดี
มนุษย์จึงสามารถนำเอาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามาใช้ประโยชน์ได้อย่างมากมาย ของ
อ.สุชาติ สุภาพ
คลิกครับ PDF
|
![]() |
โจนาธาน ลิฟวิงสตัน : นางนวล
It was morning, and the new sun sparkled gold across the ripples of a gentle sea. A mile from shore a fishing boat chummed the water. and the word for Breakfast Flock flashed through the air, till a crowd of a thousand seagulls came to dodge and fight for bits of food. แปลโดย ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
ตอนนั้นเป็นเวลาเช้า
พระอาทิตย์แรกขึ้นได้ปิดทองระลอกระยับไปทั้งทะเลที่ไม่มีคลื่น
ในระยะทางหนึ่งไมล์จากฝั่ง เรือหาปลาลำหนึ่งกวนน้ำทะเลให้เป็นคลื่น
และคำที่หมายถึงการบินมื้อเช้าได้กระจายไปในอากาศ
จนกระทั่งนกนางมวลเป็นฝูงประมาณพันตัวมาบินโฉบเฉี่ยว
และสู้กันเพื่อเศษอาหาร
คลิกครับ PDF |
![]() |
บทที่ 1
1/4 ชีวิตและความหมายของชีวิต
ชีวิตคืออะไร ประเภทของชีวิต
ชีวิตตามทัศนะของวิทยาศาสตร์ คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
ส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต ชีวิตตามแนวศาสนาคริสต์
ของแนวศาสนาอิสลาม ลัทธิเต๋า ชีวิตเป็นอย่างไร
พุทธศาสนา ปฏิจสมุทบาท คริสตศาสนา
และความมุ่งหมายของชีวิต คลิกครับ
PDF
|
![]() |
บทที่ 2
2/4 สภาพปัญหาของสังคมไทย การดำเนินชีวิต และแนวทางการแก้ปัญหา
สาเหตุของปัญหาและทางออก
ปัญหาที่เกิดจากกระบวนการศึกษา และเสถียรภาพทางสังคม
คลิกครับ PDF
|
![]() |
บทที่ 3
3/4 ศิลปะในการดำเนินชีวิต
มรรคที่มีองค์ 8
ชีวิตประเสริฐ ศาสนาคริสต์ หลักตรีเอกานุภาพ
หลักของความรัก อาณาจักรของพระเจ้า วิธีการดำเนินชีวิต
จริยธรรมของเล่าจื๊อ ลัทธิขงจื๊อ คลิกครับ
PDF
|
![]() |
บทที่ 4
4/4 ทัศนะองค์รวม (Holistic)
วงดนตรี พระธรรมปิฎก
องค์ประกอบการสร้างความสุขในสังคม โยนิโสนมสิการ
คลิกครับ PDF
|
![]() |
ปรัชญาตะวันออก
ใน วัฒนธรรมของตะวันตก คำว่า
ปรัชญาตะวันออกมีความหมายกว้างๆ ครอบคลุมถึง
แนวคิดทางปรัชญาของ "ตะวันออก"
กล่าวคือ ทางเอเชีย ที่รวมถึงจีน อินเดีย ญี่ปุ่น
คลิกครับ PDF
|
![]() |
ชีววิทยา บทที่ 1 1/6 ลักษณะของยีสต์
โครงสร้างภายในของเซลล์ยีสต์ ผนังเซลล์
การแบ่งตัวของยีสต์แบบแตกหน่อ ยีสต์ในการผลิตไวน์ แบคทีเรีย
โคจิ (Koji)
โมโต (moto) PDF
|
![]() |
ชีววิทยา บทที่ 2 2/6 สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์
น้ำตาล แป้ง แหล่งแร่ธาตุ
แหล่งวิตามิน แหล่งน้ำ และแหล่งออกซิเจน PDF |
![]() |
ชีววิทยา บทที่ 3 3/6 การปนเปื้อนและการป้องกัน
จุลินทรีย์ที่ทำให้เบียร์
ไวน์ และสาโท เสื่อมเสีย การรักษาสภาพปลอดเชื้อ
การควบคุมจุลินทรีย์ การพาสเจอไรเซชั่น
การใช้เครื่องหมุนเหวี่ยง PDF
|
![]() |
ชีววิทยา บทที่ 4 4/6 แอลกอฮอล์ที่เป็นเชื้อเพลิง
ชนิดของแอลกอฮอล์ เอทานอล
(Ethanol) ลักษณะของจุลินทรีย์ที่ใช้ในการผลิตเอทานอล
แยกน้ำ (Dehydration) การทำเอทานอล
99.5%
ค่าออกเทน (Octane number)
การใช้เอทานอลในประเทศไทย เมทานอล (Methanol)
พีซีรีย์คืออะไร PDF
|
![]() |
ชีววิทยา บทที่ 5 5/6 การผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ชนิดต่างๆ
สุราแช่ ตัวอย่างสุราแช่ น้ำตาลเมา
กระแช่ สาเก การเตรียมทาเนโคจิ วิธีเตรียมโยโรมิ
สาโท ไวน์ ขั้นหมักไวน์ เบียร์ (Beer)
วิสกี้ (Whisky)
PDF
|
![]() |
ชีววิทยา บทที่ 6 6/6
คำถามประเมินผลการเรียนและเอกสารอ้างอิง
PDF
|
![]() |
พลังงานทดแทนจากชีวมวล
ของพิศมัย เจนวนิชปัญจกุล
มูลค่าการนำเข้าน้ำมัน การผลิตเอทานอล สถานีบริการน้ำมัน
คุณสมบัติของน้ำมันเชื้อเพลิง วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล
ก๊าซเชื้อเพลิง PDF
|
![]() |
ศูนย์กลางของระบบสุริยะ
มนุษย์พยายามจะทำความเข้าใจเรื่องจักรวาล
โดยทำการศึกษาการเคลื่อนที่ของเทห์วัตถุท้องฟ้ามาแต่โบราณแล้ว ประมาณ
800 ปีก่อนคริสตกาล
ชาวบาบีโลนได้สร้างปฏิทินโดยการศึกษาการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ผ่านหน้ากลุ่มดาวจักราศี
พวกเขาได้ตั้งชื่อ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์
และดาวเคราะห์ที่มองเห็นด้วยตาเปล่าทั้งห้าดวง ขึ้นเป็นชื่อวันในสัปดาห์
วันอาทิตย์, วันจันทร์, วันอังคาร, ....... ถึง วันเสาร์
ตามที่เราได้ใช้กันอยู่ตราบจนทุกวันนี้ PDF
|
![]() |
กฎของเคปเลอร์ (Kepler’s laws)
นักปราชญ์ในยุคก่อนเชื่อว่า
วงโคจรของดาวเคราะห์เป็นรูปวงกลมที่สมบูรณ์ จนกระทั่ง
โจฮานเนส เคปเลอร์ (Johannes
Kepler)
นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันซึ่งมีชีวิตอยู่ในระหว่าง ค.ศ.1571 – 1630
ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลตำแหน่งของดาวเคราะห์
ที่ได้จากการตรวจวัดจากการสังเกตการณ์อย่างละเอียด แล้วทำการคำนวณย้อนกลับ
พบว่าผลของการคำนวณซึ่งถือเอาวงโคจรเป็นรูปวงกลมนั้น
ไม่สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการสังเกตการณ์
แต่กลับสอดคล้องกับผลของการคำนวณซึ่งถือเอาวงโคจรเป็นรูปวงรี ในปี ค.ศ.1609
เคปเลอร์ได้ประกาศว่า “ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี
โดยมีดวงอาทิตย์อยู่ที่โฟกัสจุดหนึ่ง”
(กฎข้อที่ 1 กฎของวงรี)
PDF
|
![]() |
กฎของนิวตัน (Newton’s laws)
เซอร์ ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton)
เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ถือกำเนิดใน ปี ค.ศ.1642 นิวตันสนใจดาราศาสตร์
และได้ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง (Reflecting telescope)
ขึ้นโดยใช้โลหะเงาเว้าในการรวมแสง แทนการใช้เลนส์
เช่นในกล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง (Refracting telescope)
นิวตันติดใจในปริศนาที่ว่า
แรงอะไรทำให้ผลแอปเปิลตกสู่พื้นดินและตรึงดวงจันทร์ไว้กับโลก
และสิ่งนี้เองที่นำเขาไปสู่การค้นพบกฎที่สำคัญ 3 ข้อ PDF
|
![]() |
เทคโนโลยีเทอร์โมอิเล็กทริก เผ่าเทพ พิชณุษากร
เดี๋ยวนี้อะไรต่อมิอะไรก็ร้อนขึ้น
ทั้งหน้าร้อนหน้าหนาวก็ดูเหมือนว่าร้อนขึ้นเรื่อยๆ
และก็ไม่เฉพาะลมฟ้าอากาศเท่านั้น
คอมพิวเตอร์ก็ร้อนขึ้นจนบางทีไม่สามารถวางมันบนตักเราได้
รถที่จอดไว้กลางแจ้งก็ร้อนจนต้องรอให้มันเย็นลงบ้างก่อนที่จะเข้าไปนั่ง
คงจะดีไม่น้อยหากเราสามารถนำความร้อนเหล่านี้มาใช้งานได้
และอีกไม่นานนับจากนี้ไป เราก็อาจได้เห็นเทคโนโลยีที่สามารถทำเช่นนั้นได้
นั่นคือ เทคโนโลยีเทอร์โมอิเล็กทริก (Thermoelectric
technology) ซึ่งได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว PDF
|
![]() |
นาโนเทคโนโลยี สมนึก บุญพาไสว
นาโนเทคโนโลยีคืออะไร หลักการพื้นฐาน เทคโนโลยีแบบหยาบ
การประยุกต์ใช้นาโนเทคโนโลยี ท่อนาโนคาร์บอน วัสดุนาโน
เทคโนโลยีแบบล่างขึ้นบน ผลกระทบทางดีและไม่ดี PDF
|
![]() |
แนวคิดที่เพี้ยนไปเกี่ยวกับแรงยกบนปีกเครื่องบิน สมนึก บุญพาไสว
การไหลที่อัดตัวได้ ( Compressible flow)
สมการพื้นฐานของกลศาสตร์ของไหล สมการโมเมนตัมเชิงเส้น
สมการพลังงาน แรงกระทำบนของแข็งที่จมอยู่ในของไหล
การทดลอง และ ของฝากก่อนจากกัน PDF
|
![]() |
CAD/CAM กับอุตสาหกรรมการผลิต สมนึก บุญพาไสว
CAD CAM CAE และ
CNC คืออะไร การใช้
CAD/CAM/CAE/CNC ร่วมกันในการผลิต
และเราจะเลือกระบบไหนดี PDF
|
![]() |
เครื่องกำเนิดกระแสไฟฟ้า
ส่วนประกอบ แมกนีโต วิธีใช้และการทดลอง
สรุปผลการทดลอง PDF
|
![]() |
เซลล์เชื้อเพลิง สมนึก บุญพาไสว
แหล่งพลังงานและเชื้อเพลิง เซลล์เชื้อเพลิงคืออะไร
ระบบเซลล์เชื้อเพลิง ตัวแปรรูปเชื้อเพลิง
อุปกรณ์แปลงผันพลังงาน เซลล์เชื้อเพลิงมีกี่แบบ Alkaline
Fuel cell เซลล์เชื้อเพลิงแบบกรดฟอสฟอริก
และแบบเกลือคาร์บอเนตหลอมเหลว PDF
|
![]() |
ตัวรับรู้และทรานสดิวเซอร์ สมนึก บุญพาไสว
ตัวรับรู้คืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ตรวจจับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
และแปลงผันการเปลี่ยนแปลงปริมาณนั้น เป็นปริมาณที่สามารถหรือบันทึกได้
เช่นโพเทนชิมิเตอร์ ซึ่งเป็นตัวต้านทานที่ปรับค่าได้
ทำหน้าที่แปลงผันการเปลี่ยนแปลงการกระจัดเป็นการเปลี่ยนแปลงความต้านทาน
เรียกโพเทนชิโอมิเตอร์ ว่าเป็นตัวรับรู้ PDF |
![]() |
อุปกรณ์สอนเรื่อง "แวนเดอร์กราฟอย่างง่าย"
เมื่อนำวัตถุสองชนิดมาถูกันจะเกิดการแลกเปลี่ยนอิเล็คตรอน วัสดุบางชนิดจะให้อิเล็คตรอน
บางชนิดจะรับอิเล็คตรอนได้ดี ตัวอย่างเช่น
เมื่อนำลูกโป่งถูกับเส้นผมโมเลกุลยางของลูกโป่งจะดึงอิเล็คตรอนจากโมเลกุลของเส้นผม
เมื่อนำลูกโป่งไปวางบนกำแพงลูกโป่งสามารถลอยติดกับกำแพงได้ PDF
|
![]() |
ก้นหอย สมนึก บุญพาไสว
มวยก่อนเวลา ก่อนจะถึงก้นหอย
เข้าสู่กันหอย พิจารณาก้อนหอย ก่อนจะจากก้นหอย
การสูบน้ำด้วยปั๊มหอยโข่ง PDF
|
![]() |
การสร้างแท่นหมุนสำหรับการทดลองในวิชาแสง 1/2 รศ. โช สาลีฉัน
แท่นหมุนสำหรับทดลองในวิชาแสงที่ได้ออกแบบไว้นี้เป็นเครื่องมือสำหรับการทดลองและสาธิตในวิชาแสง
เรื่องกฎการหักเหของแสง การสะท้อนกลับหมด
การวัดมุมเบี่ยงเบนของแสง และหลักการ Refractometer
PDF
|
![]() |
การใช้งานแท่นหมุนสำหรับการทดลองในวิชาแสง 2/2 รศ. โช สาลีฉัน
ในตอนที่แล้ว ได้แสดงวิธีการสร้างแท่นหมุนและได้นำไปใช้ในการทดลอง
ในตอนที่สองนี้ได้เพิ่มการทดลองสำหรับวัดมุมของปริซึม การวัดมุมเบี่ยงเบน
และมุมเบี่ยงเบนน้อยที่สุด ของปริซึมสามเหลี่ยม
การทดลองเรื่องการสะท้อนกลับหมด และมุมวิกฤติสำหรับตัวกลางเป็นของแข็ง
และตัวกลางที่เป็นของเหลว PDF
|
![]() |
เครื่องวัดความชื้นสัมพัทธ์ชนิดกระเปาะเปียกและแห้ง (Wet and dry Hygrometer)
วิธีใช้และวิธีการอ่านค่าความชื้นสัมพัทธ์
PDF
|
ศัพท์วิทยาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตสถาน
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ฐ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป
นักวิทยาศาสตร์ หน่วย ศัพท์แผ่นดินไหวตัวอักษรจาก A-M จาก N-Z
A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z
หมวด : | ก | ข | ค | ซ | ฐ | ด | ต | ท | น | ป | ผ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ส | ห | อ | ฮ | |
พจนานุกรมเสียง 1 แมว วัว 1 วัว 2 วัว 3 เหมียว แกะ พจนานุกรมภาพการ์ตูน
พจนานุกรมภาพเคลื่อนไหว ดนตรี Bullets แบบ JEWEL พจนานุกรมภาพต่างๆ
ภาพเคลื่อนไหวของสัตว์ต่างๆ โลกและอวกาศ
ครั้งที่
เอกสารการเรียนการสอน PDF