|
||||||||||||||||||||
ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกแสดงได้โดยใช้อุปกรณ์ดังรูป
แผ่นโลหะ C และ A อยู่ในหลอดสุญญากาศ โดย C ต่อเข้ากับขั้วไฟฟ้าลบ และ A ต่อเข้ากับขั้วไฟฟ้าบวก
โดยเมื่อฉายแสง ด้วยความถี่
![]() |
||||||||||||||||||||
ต่อจากนั้นกลับขั้วไฟฟ้าและเพิ่มความต่างศักย์จนกระทั่งกระแสไฟฟ้าเป็นศูนย์ ทำให้อิเล็กตรอนที่มีความเร็วมากที่สุดหรือพลังงานจลน์สูงสุดหยุดนิ่ง เรียกความต่างศักย์นี้ว่า ความต่างศักย์หยุดยั้ง (Stopping Potential ) แทนด้วย VS ดังนั้นจะได้พลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอน คือ | ||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||
จากการทดลองเมื่อฉายแสงความถี่ต่าง
ๆ กันลงบนแผ่นโลหะ C พบว่า ถ้าให้ความถี่แสงมากกว่าความถี่ค่าหนึ่ง อิเล็กตรอนจึงจะหลุดจากผิวโลหะได้
ความถี่นี้เรียกว่าความถี่ขีดเริ่ม (![]() |
||||||||||||||||||||
โดย ผศ.ปรียา อนุพงษ์องอาจ |
||||||||||||||||||||
อ้างอิง : http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/particlesandwaves/particlesandwaves.html
|
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่
การเรียนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต