สำหรับในวงที่ n ใด ๆ จะได้ | |||||||||||||
|
|||||||||||||
แสดงว่าอิเล็กตรอนจะมีพลังงานต่ำสุดเท่ากับ
-13.6 eV เมื่ออยู่ในวงโคจรในสุด n = 1 และมีพลังงานสูงสุดเท่ากับ 0 เมื่อ
n = ![]() |
|||||||||||||
บอร์ได้เสนอว่าวงโคจรในสุดของอะตอมของไฮโดรเจน (n = 1) เป็นวงที่เสถียรที่สุดและมีระดับพลังงานต่ำสุด โดยเรียกอิเล็กตรอนที่อยู่ในวงโคจรนี้ว่า อิเล็กตรอนในสถานะพื้นฐาน (ground state) ส่วนวงโคจรถัดจากวงที่ 1 ออกมา ( n = 2 , 3, ) อิเล็กตรอนจะมีเสถียรภาพน้อยลงเรื่อย ๆ ตามลำดับ เรียกอิเล็กตรอนที่อยู่ในวงโคจรนี้ว่า อิเล็กตรอนในสถานะกระตุ้น (excited state) ดังนั้นเมื่ออิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนอยู่ในสถานะถูกกระตุ้น เมื่อกลับสู่สถานะพื้น จะมีการปล่อยพลังงานออกมาในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นต่าง ๆ กันโดยขึ้นอยู่กับความแตกต่างของระดับพลังงานนั้นๆ โดยสามารถคำนวณหาความยาวคลื่นได้ดังนี้ | |||||||||||||
จากสมการที่ (12) | |||||||||||||
|
|||||||||||||
|
|||||||||||||
|
|||||||||||||
|
|||||||||||||
ซึ่ง ![]() ![]() |
|||||||||||||
|
|||||||||||||
จะพบว่าสมการที่ (16) นี้มีค่าเท่ากับสมการที่ (8) จึงอาจสรุปได้ว่า บอร์เป็นคนแรกที่อธิบายเส้นสเปกตรัมได้อย่างถูกต้อง | |||||||||||||
ต่อมามีผู้ศึกษาเกี่ยวกับสเปคตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากอะตอมไฮโดรเจน และพบว่าสเปคตรัมเหล่านั้นแบ่งออกเป็นอนุกรม (series) ต่าง ๆ โดยขึ้นอยู่กับระดับพลังงานดังนี้ | |||||||||||||
โดย ผศ.ปรียา อนุพงษ์องอาจ |
|||||||||||||
อ้างอิง : http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/particlesandwaves/particlesandwaves.html
|
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่
การเรียนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต