|
ริชาร์ด ไฟย์แมน ในปี ค.ศ. 1962 ริชาร์ด ไฟย์แมน ได้ยกแบบจำลองอะตอมให้เป็นแก่นของความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อโลกดังในปาฐกถาที่แสดงแก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งแคลิฟอร์เนียว่า หากความรู้ทางวิทยาศาสตร์ถูกทำลายลงทั้งหมดด้วยหายนภัยบางอย่าง และมีเพียงประโยคเดียวเท่านั้นที่สามารถถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลานได้ คำกล่าวทีรวมข้อมูลได้มากที่สุดโดยใช้จำนวนคำน้อยที่สุดควรจะเป็นคำกล่าวใด ผมเชื่อว่า คำกล่าวดังกล่าว น่าจะเป็น สมมุติฐานของอะตอม นั่นก็คือ ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนประกอบดัวยอะตอม
|
|||
|
วิทยาศาสตร์วาทะ
ดีโมครีตัสกล่าวว่าทุกสิ่งทุกอย่างประกอบขึ้นจาก อนุภาคที่เล็กมาก เล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ อนุภาคเล็กๆเหล่านี้จะรวมพวกเข้าด้วยกันโดยวิธิการต่างๆ สำหรับอนุภาคเองนั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงและไม่สามารถจะแตกแยกออกเป็นชิ้นส่วนที่เล็กลงไปอีกได้ ดีโมครีตัสตั้งชื่ออนุภาคนี้ว่า "อะตอม (Atom)" จากภาษากรีกที่ว่า atoms ซึ่งมีความหมายว่า "ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก" ตามความคิดเห็นของเขา อะตอมเป็นชิ้นส่วนที่เล็กที่สุดของสสารที่สามารถจะคงอยู่ได้ |
|||
ธาตุ ธาตุคืออะไร ธาตุคือ สารซึ่งประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกัน มีธาตุที่ค้นพบแล้ว 109 ธาตุ เป็นธาตุที่อยู่ในธรรมชาติ 89 ธาตุ นอกจากนี้เป็นธาตุที่สังเคราะห์ขึ้น มีธาตุบางชนิดที่ไม่ค่อยจะทำปฏิกิริยา เช่นทองคำที่เกิดจากธาตุบริสุทธิ์ แต่ธาตุส่วนมากมักเกิดกับรูปสารประกอบกับธาตุอื่นๆ อ่านต่อครับ | ||||
|
||||
|
หลังจากมีการค้นพบว่า อิเล็กตรอนเป็นองค์ประกอบหนึ่งของอะตอม ทำให้ขัดแย้งกับทฤษฎีอะตอมในอดีตที่เข้าใจว่า อะตอมแบ่งแยกไม่ได้ ดังนั้น นักฟิสิกส์จึงได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับแบบจำลองของอะตอมขึ้นมา เรียงตามความเชื่อถือดังนี้
|
|
โครงสร้างอะตอม "ไม่มีใครรู้ว่าถ้าไม่มีนีลส์ บอร์ แล้ว เราจะรู้เกี่ยวกับเรื่องของอะตอมได้อย่างไร" นี้คือคำกล่าวของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์อันดับหนึ่งของโลกที่กล่าวถึงนักฟิสิกส์ผู้นี้ บอร์เป็นนักฟิสิกส์ที่เปิดเผยความลับของอะตอมผู้ที่อยู่ในยุคเดียวกับอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ และมีความเป็นอัจฉริยะไม่แพ้กันเลยแม้แต่น้อย อีกทั้งบอร์ยังเป็นนักวิทยาศาสตร์ผู้หนึ่งที่ทำให้การสร้างระเบิดปรมาณู ประสบความสำเร็จ สิ่งที่เป็นการยืนยันได้ดีก็คือ รางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ที่เขาไดัรับการจากการค้นพบทฤษฎีอะตอม ในปี ค.ศ. 1922 นั่นเอง อ่านต่อครับ |
||
1.
|
อะตอม สสารประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุดเรียกว่า อะตอม เนื่องจากอะตอมส่วนมากมีโครงสร้างที่เสถียร อะตอมจึงเป็นองค์ประกอบของทุกสิ่งในจักรวาล โครงสร้างของอะตอม ตรงใจกลางหรือนิวเคลียสของอะตอมมีโปรตอน(ซึ่งมีประจุเป็นบวก) และนิวตรอน(ซึ่งไม่มีประจุ) อนุภาคที่มีประจุเป็นลบเรียกว่าอิเล็กตรอน ซึ่งโคจรรอบนิวเคลียสในแต่ละชั้นหรือเชลล์ อ่านต่อครับ |
ฟิสิกส์อะตอม 1. บทนำ 3. ความเจริญของวิชาไฟฟ้าและไฟฟ้าแม่เหล็ก
5. สเปกตรัมของแสงและสเปกตรัมของอะตอม
|
6. การแผ่รังสีของวัตถุดำและทฤษฎีควอนตัมเบื้องต้น
10. แบบจำลองอะตอม
11. ทฤษฎีทวิภาพของคลื่นและอนุภาค 12. กลศาสตร์ควอนตัม
|
นำมาจาก ฟิสิกส์อะตอม ของ ผศ. อดิชาติ บ้วนกียาพันธุ์ ฟิสิกส์ราชมงคลขอขอบคุณครับ | |
ทำไมต้องสนใจสเปกตรัมของไฮโดรเจนอะตอม
| |
| |
|
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จากการศึกษาและทดลองต่างๆ พอที่จะสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างของอะตอมได้ว่า ทุกอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่สำคัญคือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยมีโปรตอนกับนิวตรอนอยู่ภายในนิวเคลียส นิวเคลียสนี้จะครอบครองเนื้อที่ภายในอะตอมเพียงเล็กน้อยและมีอิเล็กตรอนวิ่งรอบๆนิวเคลียสด้วยความเร็วสูงคล้ายกับมีกลุ่มประจุลบปกคลุมอยู่โดยรอบ
![]() จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสเรียกว่า ผลบวกของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอนเรียกว่า โดยที่ N เป็นจำนวนนิวตรอน การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์
เขียน เขียน
การทดลองเรื่องการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม คลิกครับ ถ้าทดลองไม่ได้ ให้ Download
ในห้องทดลองเสมือนนี้ คุณสามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนในวงโคจรของอะตอมได้ โดยเริ่มต้นที่ ไฮโดรเจน H (z=1) ให้ลากตัวสไลด์ เปลี่ยนจำนวนอิเล็กตรอน หรือใช้ลูกศรขึ้นและลงของคีย์บอร์ดก็ได้
คุณสามารถทดลองบนหน้านี้ได้ โดยใช้เมาส์คลิกที่ลูกศรสีเขียวครับ
การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด เลื่อนดีเทคเตอร์ไปที่ตำแหน่ง 1 อธิบายว่ามีอะไรเกิดขึ้น ________________ เลื่อนดีเทคเตอร์ไปที่ตำแหน่ง 2 อธิบายว่ามีอะไรเกิดขึ้น ________________ เลื่อนดีเทคเตอร์ไปที่ตำแหน่ง 3 อธิบายว่ามีอะไรเกิดขึ้น ________________ เลื่อนดีเทคเตอร์ไปที่ตำแหน่ง 4 อธิบายว่ามีอะไรเกิดขึ้น ________________ เลื่อนดีเทคเตอร์ไปที่ตำแหน่ง 5 อธิบายว่ามีอะไรเกิดขึ้น ________________
กดที่ลูกศร คุณจะได้เห็นการยิงอิเล็กตรอน ของ นาย Joseph John Thompson ในห้องทดลองนี้ คุณสามารถเรียนรู้ทำความเข้าใจ อะตอมของไฮโดรเจน โดยใช้ทฤษฎีของบอร์ ให้คุณเลือกระดับพลังงานที่อิเล็กตรอนจะกระโดด เมื่อคุณคลิกวงโคจรของอิเล็กตรอน มันจะกระโดดมายังชั้นที่คุณเลือก แสดงด้วยลูกศร และบอกขนาดของพลังงาน แถบสีดำด้านบน แสดงเส้นของสเปคตรัม ค่าความยาวคลื่นในช่วง 0 ถึง 2000 nm (ช่วงความยาวคลื่นที่ตามองเห็นได้อยู่ระหว่าง 400 ถึง 650 nm) ดังนั้นถ้าการเปลี่ยนระดับพลังงาน อยู่ในช่วงความยาวคลื่น 0 ถึง 2000 nm จะมีเส้นปรากฎในแถบสเปคตรัม และถ้าอยู่ในช่วงคลื่นที่ตามองเห็น จะมีสีปรากฎขึ้นด้วย ใบบันทึกผลการทดลอง ทดสอบอนุกรมบาล์มเมอร์ (Balmer series) อิเล็กตรอน จะเปลี่ยนระดับพลังงานจาก ni = 3 ,4,5,6,7 ลงมาชั้นที่ nf = 2 คลิกเข้าสู่การทดลองถ้าทดลองไม่ได้ ให้ Download
|
|||||||||||||||||||||
Rutherford Scattering
How did Rutherford figure out the structure of the atomic nucleus without looking at it? Simulate the famous experiment in which he disproved the Plum Pudding model of the atom by observing alpha particles bouncing off atoms and determining that they must have a small core. ขนาดของไฟล์ 452KB คลิกค่ะ |
|
||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||
การทดลองเรื่อง ผลการยิง X-ray ชนเข้ากับอะตอม
ตอบคำถามต่อไปนี้
|
หลักการทำงานของแผ่นซีดี แผ่นซีดีทั่วไปสามารถเก็บข้อมูลได้นาน 74 นาที มีความจุต่อแผ่น 780 ล้านไบต์ หรือ 780 ล้านตัวอักษร บนแผ่นซีดี เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 4.8 นิ้ว (12 เซนติเมตร) แผ่นซีดี ทำด้วยแผ่นพลาสติก ธรรมดา มีความหนา 4/100 นิ้ว หรือ 1.2 มิลลิเมตร การผลิตแผ่นซีดีมีอยู่หลายประเภท ถ้าผลิตที่บ้านใช้เครื่องบันทึกแผ่นซีดี แบบ 2000 กว่าบาทมา มีหลักการง่าย ซึ่งเราจะอธิบายกันในโอกาศต่อไป แต่ที่เราจะพูดกันต่อไปนี้ เป็นการผลิตแผ่นซีดีแบบการค้าที่ผลิตทีจำนวนมากๆ แผ่นแม่แบบ จะถูกบันทึกด้วยเครื่องบันทึก โดยการเรียงข้อมูลภายในแผ่นเป็นรูปขดวง ข้อมูลจะมีลักษณะเป็นเนินขึ้นมา (เฉพาะแผ่นต้นแบบ) เนินเหล่านี้คือข้อมูลทางดิจิตอล แผ่นแม่แบบจะทำด้วยวัสดุที่แข็งมากเช่น พวกโลหะ เมื่อนำไปปั๊มลงบนแผ่นพลาสติก ซึ่งเป็นแผ่นลูก จากเนินบนแผ่นแม่แบบ ก็จะกลายเป็นหลุมบนแผ่นลูก เมื่อเสร็จขั้นตอนการปั๊มแล้ว ก็จะเคลือบอลูมิเนียมเป็นฟิลม์บางๆอยู่บนแผ่นพลาสติกอีกที และเคลือบด้วย Acrylic อีกชั้นเพื่อกันรอยขีดข่วน |
เครื่องเขียนซีดีทำงานอย่างไร ข้อมูลบนแผ่นซีดี จะมีรูปร่างขดเป็นวง โดยเริ่มขดจากภายใน (ไม่ใช่จุดศูนย์กลาง) ออกมาภายนอก ที่ไม่ได้เริ่มที่จุดศูนย์กลางก็เพราะจะต้องเจาะเป็นรูไว้ ให้มอเตอร์จับแผ่นและสามารถหมุนแผ่นไปได้ จึงทำให้เนื้อที่การเก็บลดลงจาก 783 ล้านไบต์ เหลือเพียง 700 ล้านไบต์ หรืออาจจะน้อยกว่านั้นก็ได้
ยิ่งพวกการ์ดซีดี (แผ่นสี่เหลี่ยมขนาดเท่ากับการ์ด เอทีเอ็ม) เคยมีขายกันใน เซเว่นอีเลเว่น พวกการ์ดพวกนี้จะบันทึกเพลงได้ประมาณ 1 เพลง เวลาจะฟัง ให้ใส่การ์ดลงไปในช่องเล่นแผ่นซีดี เหมือนกับการเล่นแผ่นซีดีทุกประการ ปกติแผ่นการ์ดพวกนี้จะมีความจุประมาณ 2 ล้านไบต์ เพราะมันมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมจึงมีวงได้น้อยกว่าแผ่นวงกลมนั่นเอง
จุดที่ติดตั้งหัวเลเซอร์เขียน และอ่าน หัวเลเซอร์ที่ใช้เขียน จะเคลื่อนที่ไปพร้อมกับหัวเลเซอร์อ่าน คือเคลื่อนที่ไปในแนวรัศมีของแผ่นขณะที่แผ่นกำลังหมุน เพราะว่าแผ่นจะมีความเร็วไม่เท่ากันตลอดแนวรัศมี จึงต้องมีการปรับแต่งความเร็วของการหมุน ซึ่งจะทำให้หัวเลเซอร์วิ่งอยู่บนแผ่นที่หมุนด้วยความเร็วคงที่หนึ่งได้ ทำให้การบันทึกข้อมูลค่อนข้างชัวว์ อ่านต่อครับ |
กรรมวิธีการผลิตดีวีดีในเชิงอุตสาหกรรม เริ่มจากนำแผ่นแก้วใสๆ
เคลือบด้วยวัสดุไวแสง
ใช้เลเซอร์ยิงไปบนแผ่นแก้วให้เกิดเป็นรอยหยักของข้อมูล
นำไปเคลือบด้วยนิกเกิล กลายเป็นแผ่นมาสเตอร์
นำแผ่นมาสเตอร์ไปใส่ในเครื่องปั๊ม ต่อไป....
คลิกชมวีดีโอค่ะ
|
แนวคิดของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แรงของอะตอม หรือ AFMกล้องจุลทรรศน์แบบนี้ เป็นกล้องที่อาศัยเข็มขนาดเล็กกวาดไปบนพื้นผิวของชิ้นงานตัวอย่าง เราสามารถวัดคุณสมบัติของพื้นผิวชิ้นงานได้ ดังเช่น ความสูง การดูดกลืนแสง หรือ สนามแม่เหล็กเป็นต้น เนื่องจากปลายเข็มมีขนาดเล็กมาก จึงสามารถที่จะตรวจสอบได้ในบริเวณที่เล็กมากๆ ถึงขนาดระดับอะตอม เข็มจะกวาดไปบนพื้นผิว และแปรผลที่ได้ออกเป็นภาพกราฟฟิกทางคอมพิวเตอร์ คลิกค่ะ |
แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
ตามแบบจำลองอะตอมของทอมสัน ในการยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปในแผ่นทองคำอนุภาคแอลฟามีโอกาสเบี่ยงเบนไปจากเดิมได้หรือไม่ ? เท่าที่ทราบอะตอมมีระดับขนาด 10-10 เมตร ถ้านิวเคลียสมีระดับขนาด 10-15 เมตร มวลเกือบทั้งหมดเป็นมวลของนิวเคลียส ย่อมมีที่ว่างมากมายหรือเกือบจะกล่าวได้ว่าอะตอมเป็นที่ว่างไปหมด แล้วทำไมวัตถุจึงเป็นของแข็ง ของเหลวอยู่ได้ ? เท่าที่ทราบอะตอมมีระดับขนาด 10-10 เมตร ถ้านิวเคลียสมีระดับขนาด 10-15 เมตร มวลเกือบทั้งหมดเป็นมวลของนิวเคลียส ย่อมมีที่ว่างมากมายหรือเกือบจะกล่าวได้ว่าอะตอมเป็นที่ว่างไปหมด แล้วทำไมวัตถุจึงเป็นของแข็ง ของเหลวอยู่ได้ ? |
![]() ![]() ของ ดร.ชัยวัฒน์ เจนวาณิชย์ |
![]() |
วิวัฒนาการตารางธาตุ Mosley ตารางธาตุในปัจจุบัน
การนำไฟฟ้ากับตารางธาตุ ขนาดอะตอม และอิออน ค่าอิเล็กตรอนอัฟฟินิตี
สารประกอบออกไซด์ ก๊าซเฉื่อย ธาตุหมู่ต่างๆ
ประโยชน์ของตารางธาตุ จำนวน 67 แผ่น
คลิกค่ะ
![]() |
![]() |
อ.พูนสุช ภูสิมมา กฏพีริออดิก
คาบเดียวกัน แนวโน้มของสมบัติทางกายภาพ พันธะโคลาเลนต์
กลุ่มโลหะ การหลอมเหลวและการกลายเป็นไอ สมบัติทางเคมี ธาตุพรีเซนเททีฟ
อโลหะ และกึ่งโลหะ อัญรูป catenation จำนวน 67 แผ่น
คลิกค่ะ
|
พันธะเคมี
มีแบบทดสอบ
คลิกค่ะ
|
รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ การจัดเรียงอะตอมต่าง ๆ ในโมเลกุลโคเวเลนต์มีตำแหน่งและทิศทางที่แน่นอนจึงทำให้โมเลกุลโคเวเลนต์ของสารต่าง ๆ มีรูปร่างแตกต่างกัน สิ่งที่ใช้บอกรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ จะเป็นอย่างไรนั้น คือ การจัดเวเลนต์อิเล็กตรอนรอบอะตอมกลางของธาตุในโมเลกุลโคเวเลนต์ นอกจากนั้นความยาวพันธะและมุมระหว่างพันธะยังสามารถใช้บอกรูปร่างโมเลกุลได้ด้วย ความยาวพันธะ (Bond length) คือ ระยะทางระหว่างนิวเคลียสของอะตอมคู่หนึ่งที่มีพันธะต่อกัน มุมระหว่างพันธะ (Bond angle) คือ มุมที่เกิดจากอะตอมสองอะตอมทำกับอะตอมกลางหรือมุมที่เกิดระหว่างพันธะสองพันธะ
|
ดร. ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ ปัจจุบันเรากำลังอาศัยอยู่ในโลกอิเล็กทรอนิกส์และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ศาสตร์ของอิเล็กทรอนิกส์ทำให้มนุษย์เรา สรรสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกขึ้นมามากมาย และดูเหมือนไม่ว่าเราจะมองไป ณ ที่แห่งใดก็ตามที่อารยะธรรมของมนุษย์แผ่ไปถึง เราก็จะพบสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ ที่มีส่วนของอิเล็กทรอนิกส์เป็นองค์ประกอบอยู่แทบทั้งสิ้น จนอาจกล่าวได้ว่าอิเล็กทรอนิกส์เป็นพื้นฐานของอารยะธรรมสมัยใหม่ บทความนาโนเทคโนโลยีในตอนนี้ จึงมุ่งไปที่บทบาทของนาโนเทคโนโลยีที่กำลังจะเข้าไปปรับเปลี่ยนทิศทาง และพัฒนาศาสตร์ของอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งกำลังจะเดินทางมาถึงจุดอับ ให้สามารถพัฒนาต่อไปได้ การกล่าวเช่นนี้ อาจทำให้หลายๆ ท่านรู้สึกไม่สบายใจเท่าไรนัก วิศวกรคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ไม่อยากยอมรับความจริงข้อนี้ ความจริงที่ว่าเราอาจจะไม่สามารถรักษาสถิติเดิมๆ ที่เราสามารถพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีความเร็วสูงขึ้นในอัตราที่สูง ดังที่ กอร์ดอน มัวร์ ผู้ก่อตั้งบริษัทอินเทลกล่าวไว้ว่า "จำนวนของทรานซิสเตอร์ซึ่งบรรจุอยู่บนแผ่นวงจรรวม หรือ ไมโครชิพ นี้จะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าทุกๆ 18 เดือน" คำกล่าวอันสร้างชื่อแก่เขาในฐานะกฎของมัวร์ (Moore's Law) ซึ่งได้รับการยอมรับ และเป็นแรงกดดันให้วงการผลิตชิพสามารถพัฒนาชิพ ให้มีความเร็วสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ซื้อมาใหม่มีอันต้องล้าสมัยไปทุกๆ ปีครึ่งเช่นเดียวกัน แต่กฎของมัวร์นี้กำลังจะถูกสั่นคลอน การเพิ่มจำนวนทรานซิสเตอร์ลงไปบนชิพด้วยการย่อขนาดของวงจรกำลังจะมาถึงขีดจำกัด เพื่อให้เข้าใจสถานการณ์นี้อย่างแจ่มชัด เราน่าจะมาทำความเข้าใจกับพัฒนาการของวงการอิเล็กทรอนิกส์กันก่อน เฟืองเกียร์มีขนาดเล็กเป็นนาโนเมตร
นักฟิสิกส์ได้ทดลองสร้างมอเตอร์ขนาดจิ๋วขึ้น ในภาพมันมีขนาดเล็กเพียง 500 นาโนเมตร น้อยกว่าเส้นผมมนุษย์ 300 เท่า ต้องใช้กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอนส่องจึงจะมองเห็นได้ ( credit |: Zettl lab) อ่านต่อครับ
|
นาโนเทคโนโลยี
|
จากอณูถึงอนันต์ วิทยาศาสตร์ต้องรู้ โดย Jonn Gribbin แปลโดย ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ และ ดร.นเรศ ดำรงชัย Cosmic Super Zoom
จากอณู จนถึง อนันต์
เริ่มมองจากอะตอม ดีเอ็นเอ เซลล์
เรื่อยๆ....จนไปถึงเอกภพ
คลิกค่ะ
|
มีทั้งหมด 8 ชุดเรียงอย่างต่อเนื่อง |
![]() |
ชุดที่ 1 แบบจำลองของนักวิทยาศาสตร์ต่างๆ
คลิกครับ
|
ชุดที่ 2 วงโคจรของอิเล็กตรอน
คลิกครับ
|
|
ชุดที่ 3 ปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กตริก
คลิกครับ
|
|
ชุดที่ 4 โมเมนตัมของแสง
คลิกครับ
|
|
ชุดที่ 5 เลขควอนตัม
คลิกครับ
|
|
ชุดที่ 6 บรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัล
คลิกครับ
|
|
ชุดที่ 7 เลขอะตอมมิก
คลิกครับ
|
|
ชุดที่ 8 ใจกลางเครื่องปฏิกรณ์
คลิกครับ
|
|
แผ่นใสเรื่อง Physics of the atom ของ Dr. Rachen Ratanarojanakul จำนวน 43 แผ่น ฟิสิกส์ราชมงคลขอขอบคุณมากครับ
|
แผ่นใสแบบ Powerpoint เรื่อง Bohr Theory of the Atom จำนวน 65 แผ่น
|
แผ่นใสแบบ PDF เรื่อง โครงสร้างอะตอม จำนวน 48 แผ่น
|
แผ่นใส Powerpoint |
เมื่อพิจารณาว่าอะตอมเป็นทรงกลม ที่เป็นกลาง
อนุภาคอัลฟาควรจะผ่านทะลุแผ่นทองคำบางๆและไปกระทบกับฉากเรืองแสงทั้งหมด
คลิกค่ะ
|
Atomic structures
อัตราส่วนประจุต่อมวล โรเบิร์ต มิลลิแกน
การค้นพบโปรตรอน รังสีแคแนล
การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด การค้นพบนิวตรอน
ทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ สมบัติของคลื่น
สถานะกระตุ้นของอะตอม
อนุกรมในสเปกตรัมอะตอมไฮโดรเจน Schrodinger
เลขควอนตัมสปิน
คลิกค่ะ
|
Atomic Absorption Spectrophotometer โดย นายพลยุทธ ศุขสมิติ
History of optical spectrum , Fraunhofer Lines ,
Alan walsh , ระดับพลังงานของตะกั่ว , HCL
operation , Partitioned Graphite Tubes , Ash
step , Monochromater type , Deuterium, Zeeman
Technique จำนวน 157 แผ่น คลิกค่ะ
|
![]() การพุ่งทะลุของรังสี เอกซ์ |
![]() สร้างรังสีเอกส์ได้อย่างไร |
ภาพเอ็กซเรย์ภาพแรก |
Wilhelm Contad Roentgen(1845-1923) |
ถ้าทดลองไม่ได้ ให้ Download
ที่เครื่องของท่านก่อนครับ
เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ
ภาพการทดลองยกเม็ดแก้วขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1ต่อพันของนิ้ว ด้วยแสงเลเซอร์ คุณสามารถอธิบายได้หรือไม่ว่า แสงทำไมถึงสามารถยกมวลได้ |
How do microwaves heat up your coffee? Adjust the frequency and amplitude of microwaves. Watch water molecules rotating and bouncing around. View the microwave field as a wave, a single line of vectors, or the entire field. ขนาดของไฟล์ 257 KB คลิกค่ะ |
x-ray หัวใจของเครื่องกำเนิดรังสีเอ็กซ์ คือหลอดสูญญากาศ ภายในทำด้วยขั้วไฟฟ้า 2 ขั้ว ขั้วหนึ่งคือ ขั้วแคโทด อีกขั้วหนึ่งคือขั้วแอโนด
ขั้วแคโทดทำเป็นเส้นลวดเหมือนเส้นลวดของหลอดไฟ
เมื่อใส่กระแสไฟฟ้าผ่านเข้าเส้นลวดนี้ มันจะร้อน และปลดปล่อยอิเล็กตรอนออกมา
ส่วนขั้วแอโนดเป็นขั้วบวกทำด้วยแผ่นโลหะทังสเตนหมุนด้วยมอเตอร์
ขั้วบวกจะมีแรงทางไฟฟ้าดูดอิเล็กตรอนที่เป็นประจุลบวิ่งเข้าหา ![]() |
|
Wilhelm Conrad Rontgen วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน Wilhelm Conrad Rontgen ค.ศ. 1845-1923 เรินต์เกนเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จในงานของเขามานานแล้ว
ก่อนที่จะมาค้นพบรังสีเอ็กซ์ เขาเป็นศาสตราจารย์สาขาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยวูซเบิกร์ก
ในประเทศเยอรมันตั้งแต่ปี ค.ศ. 1888 และมีงานวิจัยหลายด้าน
แต่ไม่ได้รู้จักอย่างกว้างขวางจนเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 1895
เมื่อเขาเปิดเผยการค้นพบที่น่าตื่นเต้นจนทำให้เขาได้รับการจดจำจวบจนทุกวันนี้
ผู้เขียน Jon Balchin ผู้แปล ผศ. ดร. จารนัย พานิชกุล PDF |
|
การศึกษาสเปกตรัมของอะตอมโดยใช้เกรตติ้ง
(Spectrum and Grating)
จำนวน 3 แผ่น |
|
ต้นกำเนิดของแสงเลเซอร์
นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน นาย Theodore maiman
ได้ประดิษฐ์แสงเลเซอร์
เป็นคนแรกในปี พ.ศ. 2503
ต่อจากนั้นได้มีการคิดค้นแสงเลเซอร์แบบต่างๆขึ้นมาอีกมากมาย
ในวีดีโอชุดนี้ ท่านจะได้เห็นคุณสมบัติของแสงเลเซอร์
ซึ่งเป็นแสงสีเดียว ความยาวคลื่นเดียว
windows media
ขนาด
2.2 MB
|
|
แบ่งชนิดของเลเซอร์ เลเซอร์แบ่งออกเป็น
4 ประเภท คือ 1.
เลเซอร์แก๊ส 2.
เลเซอร์ของเหลว 3. เลเซอร์ของแข็ง
4. เลเซอร์ไดโอด
เราจะได้เห็นหลักการทำงานของแสงเลเซอร์ แบบแก๊สกันอย่างละเอียด
windows media
ขนาด
2.5 MB
|
|
เลเซอร์ที่ใช้ในด้านการแพทย์
ใช้คาร์บอนไดออกไซด์เลเซอร์ จี้ไฝและขี้แมลงวันให้เห็นกันจะๆ
เผาจนกระทั่งไฝระเหยหายไปหมด
ปกติเลเซอร์คาร์บอนไดออกไซด์ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้
จึงต้องใช้แหล่งกำเนิดเลเซอร์อีกประเภทที่ให้แสงสีแดง ช่วยนำทางให้
windows media
ขนาด
1.5 MB
|
|
เลเซอร์ไดโอดกับซีดี เครื่องเล่นซีดี
ใช้เลเซอร์ไดโอดเป็นตัวอ่านแผ่นดิสก์
ในวีดีโอท่านจะได้เห็นกรรมวิธีการอ่านอันแสนมหัศจรรย์ล้ำลึก
รวมทั้งการใช้อ่านบาร์โค้ด ตัวชี้ภาพราคาไม่กี่สิบบาท
การส่งข้อมูลผ่านทางสายไฟเบอร์ และการถ่ายภาพโฮโลแกรม
windows media
ขนาด
2.8 MB
|
|
เลเซอร์กับงานทางอุตสาหกรรม
ข้อดีของเลเซอร์คือเราสามารถควบคุม ทิศทางของลำแสงได้ตามต้องการ
การเจาะเป็นรูโดยใช้แสงเลเซอร์ จะได้รูที่สวยงามและเรียบร้อย
การแกะสลักด้วยแสงเลเซอร์ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
ได้ชิ้นงานที่ถูกต้องและแม่นยำ
windows media
ขนาด
2.5 MB
|
การทดลองฝังอะตอมเซนอน (Xenon) บนแผ่นนิเกิลโดยเขียนคำว่า IBM
windows media ขนาด 200 kB
|
ดูการเคลื่อนไหวของ "อิเล็กตรอน" ที่จับภาพได้ครั้งแรกของโลก
ภาพการเคลื่อนไหวของอิเล็กตรอนที่บันทึกได้เป็นครั้งแรกด้วยพลัส์ของเลเซอร์ในระดับอัตโตวินาที
เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้เลยที่จะบันทึกภาพอิเล็กตรอนได้อย่างแม่นยำ
เพราะความเร็วของอนุภาคที่สูงมากทำให้ได้ภาพที่ไม่ชัด
แต่ทีมวิจัยสวีเดนก็เอาชนะอุปสรรคต่างๆ
พัฒนาเทคโนโลยีจนสามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวของอิเล็กตรอน
หลังจากถูกดึงออกจากอะตอมได้เป็นครั้งแรกของโลก
คลิกอ่านต่อครับ
|
|
สีของเปลวไฟนำสารต่างๆไปเผา จะได้สีของเปลวไฟที่แตกต่างกันไป ยกตัวอย่างเช่น1. แบเรียมคลอไรด์ ได้เปลวไฟเป็นสีส้ม2. กรดบอริก ได้เปลวไฟเป็นสีเขียว3. สตรอนเตียมคลอไรด์ ได้เปลวไฟเป็นสีแดง คลิกค่ะ |
ภาพของทอมสัน (คนซ้าย) a) ภาพหลอดคาโถด อิเล็กตรอนจะหลุดออกจากคาโถดที่ร้อนแดง และถูกเร่งให้มีความเร็วเพิ่มขึ้นผ่านขั้วอาโนด A ผ่านเข้าสู่ แผ่นประจุคู่ขนาน เพื่อใช้ในการเบี่ยงเบนอิเล็กตรอน b) ภาพเงากากบาท ที่เกิดจากการบังการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน นาย เจเจ ทอมสัน ผู้ที่ค้นพบอิเล็กตรอนในหลอดคาโถด และได้ประกาศว่า อิเล็กตรอนคืออนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่ง เขาได้รับรางวัลโนเบลในปี 1906 ไม่น่าเชื่อว่า อีก 31 ปีต่อมา ลูกชายของเขาจะมาบอกว่า อิเล็กตรอนเป็นไปได้ทั้งคลื่นและอนุภาคในเวลาเดียวกัน
|
|
ภาพแรกของโลกที่ถ่ายรูปของอะตอมเดี่ยวได้ เป็นจุดเล็กๆสีน้ำเงินอยู่ตรงกลางสีดำ เป็นภาพของอิออนของแบเรี่ยม ถูกทำให้หยุดลงด้วยแสงเลเซอร์ อิออนได้รับพลังงานจากแสงเลเซอร์และกำลังปลดปล่อยคลื่นแสงออกมาที่ความยาวคลื่น 493 nm อยู่ในช่วงสีน้ำเงิน ให้นักศึกษาอธิบายโครงสร้างของอะตอม
(a) ระดับชั้นพลังงานของอะตอมไฮโดรเจน การเปลี่ยนระดับชั้นพลังงานของอิเล็กตรอนทำให้มันปลดปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา b) เป็น สเปกตรัมของอนุกรม Balmer เมื่อนักศึกษาทดลองเรื่องอะตอมของบอร์ สามารถอธิบาย อนุกรม Balmer ได้อย่างไร |
(วิธีทำ ให้ ใส่ชื่อ สกุล เลือกวิชาที่สอบ และจำนวนข้อ แต่ต้องไม่เกินจากที่กำหนดไว้ เช่น กำหนดไว้ 10 ข้อ เวลาเลือกจำนวนข้อ ให้เลือก 5 และ 10 ข้อไม่เกินจากนี้ เป็นต้น เมื่อทำเสร็จสามารถดูคะแนนจากรายละเอียดผู้ทำข้อสอบได้ทันที
1. ฟิสิกส์อะตอม จำนวน 110 ข้อ คลิกค่ะ ของ อ.นิรันดร์ สุวรัตน์
|
คำถาม-คำตอบ เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม ของ อ.นิรันดร์ สุวรัตน์ ฟิสิกส์ราชมงคล ขอขอบคุณครับ หน้าที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
|