ข้อมูลกากกัมมันตรังสีในประเทศไทย
ผู้ใช้สารรังสี
ประเภท |
จำนวน |
เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณูวิจัย | 1 |
ห้องปฏิบัติการผลิตไอโซโทป | 1 |
เครื่องเร่งอนุภาคนิวตรอน | 2 |
เครื่องฉายรังสีแกมมาเพื่อการวิจัย | 3 |
เครื่องฉายรังสีแกมมาเพื่อการอุตสาหกรรม | 2 |
อุปกรณ์ฉายรังสีทางการแพทย์ | 20 |
การถ่ายภาพทางรังสีในอุตสาหกรรม | 12 |
โรงงานที่ใช้สารรังสีในระบบควบคุมการผลิต | 40 |
ห้องปฏิบัติการวิจัย | 30 |
โรงงานผลิตนาฬิกา | 2 |
โรงงานแยกแร่ | 2 |
โรงงานจัดการกากกัมมันตรังสี | >1 |
การกระจาย และ องค์ประกอบของกากกัมมันตรังสีในประเทศไทย
กากกัมมันตรังสี |
ร้อยละ |
ไอโซโทปรังสี |
องค์ประกอบทางเคมี |
ทางการแพทย์ | 60 | Ga-67, Cr-51, Tc-99m, I-131,Tl-201, H-3, C-14 | HCl, Po-34, NO-3, NaCl, NaOH, Serumblood, Scintillants, Urine |
การศึกษาวิจัย | 35 | P-32, S-35, Cr-51, Ca-45, Tc-99m, I-131, Co-60, Cs-137, Am-241, Be-7 | Po-34, Ca+2, Cl, NO-23, HNO3, H2SO4, HClO4 |
อุตสาหกรรม | 5 | Fe-55, Kr-85, Sr-90, Cd-109, Cs-137, Co-60, Ir-192, Am-241, H-3 | ต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก |
ประมาณการปริมาณกากกัมมันตรังสีในประเทศไทย
ประเภทของกากกัมมันตรังสี |
ปริมาณ(ลบ.ม. ต่อปี) |
ปริมาณรังสี |
กากกัมมันตรังสีที่เป็นของเหลว (ก่อนบำบัด) | 200-300 | 40-4,000,000 กิโลเบคเคอเรล/ ลบ.เมตร |
กากกัมมันตรังสีที่เป็นของแข็ง (ก่อนบำบัด) | 100 | <10 มิลลิซีเวิร์ต/ชั่วโมง |
ต้นกำเนิดรังสีปิดผนึก | >1 | >10 มิลลิซีเวิร์ต/ชั่วโมง |
สาร แลกเปลี่ยนไอออนที่ใช้ แล้ว | 2 | 4,000,000 กิโลเบคเคอเรล/ ลบ. เมตร |
แท่งเชื้อเพลิงใช้ แล้ว | >28 แท่ง | รอส่งกลับประเทศผู้ผลิต |
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่
การเรียนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต