|
Jack St. Clair Kilby
Jack Kilby ทุกวันนี้ใครๆ ก็มีโทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ ฯลฯ แต่คนส่วนใหญ่ไม่เคยคิดจะแกะภายในออกดูว่า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ทำงานอย่างไร และถ้าเขาแกะดู ก็จะเห็นสิ่งที่เรียกว่า ชิป (chip) ขนาดเล็กสีดำรูปร่างต่างๆ มากมาย เป็นองค์ประกอบของวงจรเบ็ดเสร็จ (Integrated Circuit) หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า IC ที่อยู่ภายใน และอุปกรณ์นี้เองที่ทำให้คนทั้งโลกทำงานได้อย่างสะดวกสบายและรวดเร็ว
IC รุ่นแรกๆ |
|||
|
||||
|
|
|||
|
แบบฝึกหัด ต่อวงจรไฟฟ้าดังรูป มีความต้านทานไฟฟ้า 470 โอห์ม ถ้าในวงจรไฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลอยู่ 12 mA จงหาแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่
|
ทรานซิสเตอร์ Transistor
ชอคลีย์ บราตเตน และบาร์ดีน
ประดิษฐกรรมที่นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน 3 ท่านได้นำมาแสดง เมื่อวันที่
22 มิถุนายน พ.ศ.
2491 นั้น มีขนาด
ทรานซิสเตอร์ได้สนองความต้องการที่เร่งด่วนได้อย่างทันท่วงที
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีความสลับ |
|
สารกึ่งตัวนำสารบางชนิดนำไฟฟ้าได้ดี เช่น ทองแดง เหล็ก สังกะสี สารบางชนิดไม่นำไฟฟ้า แต่เป็นฉนวนไฟฟ้า เช่น แก้ว ยาง พลาสติก สารที่มีคุณสมบัติไฟฟ้าอยู่ระหว่างตัวนำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า เรียกว่า สารกึ่งตัวนำ เนื่องจากเราสามารถควบคุมการนำไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนำได้ เราจึงนำเอาสารกึ่งตัวนำมาประดิษฐ์สร้างเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีชื่อ เรียกว่า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ได้มากมาย เช่น ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และวงจรไอซี ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เราใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน เช่น ใน วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ ล้วนแล้วแต่มีอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบสำคัญทั้งสิ้น สารกึ่งตัวนำที่ใช้ประโยชน์มากที่สุด ได้แก่ ซิลิคอน ซึ่ง เป็นธาตุที่ถลุงได้จากทราย และเป็นธาตุที่มีมากที่สุดในโลกชนิดหนึ่งDiode : ไดโอด เป็นอุปกรณ์ที่ทำด้วยสารกึ่งตัชนิด p ชิ้นหนึ่ง และชนิด n อีกชิ้นหนึ่งแตะกัน ไดโอดมีความต้านทาน ต่ำมากในทิศทางหนึ่ง (กรณีที่เป็นการไบอัสไปข้างหน้า) และมีความต้านทานสูงมาก (เมื่อไบอัสย้อนกลับ) ![]() สร้างไดโอดด้วยตนเอง
สร้างไดโอดจากสาร P และ สาร n และให้สังเกตพลังงานของอิเล็กตรอน ในแถบวาเลนซ์ และแถบนำกระแส ขนาดของไฟล์ 343 KB คลิกค่ะ ทดลองไม่ได้ให้
download
Superconductor สารกึ่งตัวนำ (Semiconductor) Semiconductor หรือ สารกึ่งตัวนำ คือ วัสดุเนื้อแข็งผลึกพวกหนึ่งที่มีสมบัติเป็นตัวนำ หรือสื่อไฟฟ้าก้ำกึ่งระหว่างโลหะกับอโลหะหรือฉนวน ความเป็นตัวนำไฟฟ้าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และสิ่งไม่บริสุทธิ์ที่มีเจือปนอยู่ในวัสดุพวกนี้ ซึ่งอาจเป็นธาตุหรือสารประกอบก็มี เช่น ธาตุเจอร์เมเนียม ซิลิคอน ซีลีเนียม และตะกั่วเทลลูไรด์ เป็นต้น วัสดุกึ่งตัวนำพวกนี้มีความต้านทานไฟฟ้าลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งเป็นลักษณะตรงข้ามกับโลหะทั้งหมด
คลิกค่ะ
หลอด LED LED ย่อจาก Light emiiting diodes มีให้เห็นได้ทั่วไปในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ บางครั้งคุณเห็นได้ในนาฬิกาดิจิตอล รีโมทคอนโทล หน้าปัดอุปกรณ์ไฟฟ้า โทรทัศน์จัมโบ้ หรือแม้แต่ไฟจราจรตามสี่แยกเป็นต้น หลอด LED ที่จริงแล้วหลอด LED คือหลอดไฟขนาดเล็ก แต่มีหลักการทำงานแตกต่างจากหลอดไฟมีไส้ เพราะว่าไม่มีการเผาไส้หลอด ด้งนั้น หลอด LED จึงไม่เกิดความร้อน แสงสว่างเกิดขึ้นจากการเคลื่อนของอิเล็กตรอนภายในสารกึ่งตัวนำ ซึ่งเป็นวัสดุแบบเดียวกับที่ใช้ในการทำทรานซิสเตอร์ ฟิสิกส์ราชมงคลจะเข้าไปอธิบายพื้นฐาน และหลักการทำงานของหลอดไฟที่ไม่มีความร้อนนี้ ว่าเป็นอย่างไรในหน้าถัดไป คลิกครับ
เข้าสู่การทดลองเรื่องตารางธาตุ คลิกครับ ตอบคำถามต่อไปนี้ ( ตอบคำถามให้เป็นตัวอย่าง 1 ข้อ สีแดง )
ค้นหาด้วยตนเอง
หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียง
แนวคิดพื้นฐานของเครื่องขยายเสียง สัญญาณไฟฟ้าด้านเข้าจะถูกขยายให้มีขนาดเพิ่มขึ้น ขับออกทางลำโพง สำหรับเครื่องขยายเสียงทั่วๆไป มักจะมีภาคขยายสัญญาณ ก่อนจะเข้าเครื่องขยายเสียง เราเรียกภาคนี้ว่า ภาคปรีแอมป์พลิฟลายเออร์ (Pre- amplifier) ซึ่งจะทำงานเหมือนกับภาคแอมพลิฟลายเออร์ทุกประการเพียงแต่สัญญาณขยายอ่อนกว่า เพื่อไม่ให้ขยายสัญญาณผิดเพี้ยน ดังนันเครื่องขยายเสียงราคาแพง จะมีภาคปรีแอมป์ หลายช่วงก่อนที่จะขยายเสียงออกทางลำโพง ทำให้ได้สัญญาณออกมาแรง และเหมือนกับสัญญาณขาเข้าทุกประการ หรือถ้าปรับแต่ง อาจจะไพเราะกว่าเสียงจริงก็ได้ พวกนักร้องคาราโอเกะนิยมมากทั้งๆที่เสียงขาเข้าไม่ค่อยจะไพเราะนัก แต่พอผ่านการปรับแต่ง กลายเป็นเสียงนักร้องก็เป็นได้ อุปกรณ์ต่างๆภายในเครื่องขยายเสียงมีมากมายหลายชิ้น คุณไม่จำเป็นจะต้องทราบการทำงานของมันทุกๆชิ้น เพียงเข้าใจพื้นฐานเบื้องต้นของอุปกรณ์ที่สำคัญสุดก็พอ ในตอนหน้าผมจะอธิบายให้ฟัง อ่านต่อครับ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โครงสร้างและการทำงานของทรานซิสเตอร์ 15.1 ชนิดและคุณสมบัติของสารกึ่งตัวนำ 15.1.1 ชนิดของสารกึ่งตัวนำ 15.1.2 คุณสมบัติของสารกึ่งตัวนำ 15.2 ไดโอด 15.2.1 หัวต่อพีเอน 15.2.2 ไดโอดชนิดต่างๆ 15.3 ทรานซิสเตอร์ 15.3.1 คุณสมบัติของทรานซิสเตอร์ 15.3.2 การทำงานของทรานซิสเตอร์ 15.3.3 ชนิดของทรานซิสเตอร์ 15.3.4 สิ่งประดิษฐ์สารกึ่งตัวนำชนิดอื่นๆ 15.3.5 ลักษณะเด่นของสิ่งประดิษฐ์สารกึ่งตัวนำ ของ ดร.สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว อยู่ |
คอมพิวเตอร์ในยุคเริ่มแรก ได้แก่
เครื่องจักรกลหรือสิ่งประดิษฐ์ขึ้นเพื่อช่วยในการ คำนวณ
โดยที่ยังไม่มีการ นำวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เข้ามาใช้ประโยชน์ร่วมด้วย
ลำดับเครื่องมือขึ้นมามีดังนี้ |
ประวัติคอมพิวเตอร์ มี 4
ตอน
ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ |
|
![]() |
ตอนที่ 1 อุปกรณ์ที่เปิดโลกทัศน์ ปฏิวัติการทำงาน การเงิน การสื่อสาร และนำเราไปสู่อวกาศ มันมีพื้นฐานมาจากวงจรไฟฟ้าแบบเลฃฐานสอง หนึ่งคือจริง ศูนย์คือเท็จ นายแบบเบจ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้รับการยกย่องเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์ ท่านได้เริ่มโครงการสร้างเครื่องจักรทคำนวณแทนมนุษย์ สมัยนั้นยังใช้การไขลาน แต่เพราะขาดเงินทุน จึงทำไม่สำเร็จ
|
![]() |
ตอนที่ 2 คอมพิวเตอร์ Eniac ถูกสร้างขึ้น เป็นเครื่องจักรที่มีขนาดใหญ่มาก ทำจากหลอดสูญญากาศ หลายหมื่นหลอด ก่อนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง นักฟิสิกส์ท่านหนึ่งในโครงการแมนฮัตตัน ได้เขียนบทความแสดงคุณสมบัติของตรรกกะ และวางรากฐานของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
|
![]() |
ตอนที่ 3 ปี 1947 นักวิทยาศาสตร์ 3 คนในห้องปฏิบัติการเบล ได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ขึ้นมาทดแทนหลอดสูญญากาศ จึงทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง ปี 1969 วงจรรวมถูกประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในงานส่งมนุษย์ไปดวงจันทร์ ขณะที่ นีล อาร์มสตอง เดินเล่นอยู่บนดวงจันทร์ บนพื้นโลกนักประดิษฐ์ได้สร้างไมโครโปรเซสเซอร์ขึ้น 1977 เปิดตัวแอปเปิ้ลทู ปี 1981 IBM เปิดตัว PC 1984 คอมพิวเตอร์แมคอินทอส เปิดตัว ซอฟแวร์เริ่มมีความสำคัญ ไมโครซอฟท์ นำโดยนายบิลเกต สร้างระบบปฏิบัติการดอส และวินโดวส์
|
![]() |
ตอนที่ 4 ปี 1990 ยอดขายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ถล่มทลายเพราะความก้าวหน้าทางอินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีไร้สายเติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดด เทคโนโลยีย่อขนาดชิฟ ทำให้สามารถบรรจุทรานซิสเตอร์เข้าไปในแผ่นซิลิคอนได้อย่างมากมาย คอมพิวเตอร์ในอนาคต จะใช้โมเลกุล และ ดีเอ็นเอ
|
|
คอมพิวเตอร์น่ารู้
โดย สถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ คลิกค่ะ
|
กุญแจที่จะพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในสภาพที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้
และมีความสามารถใช้งานได้ดี คือหน่วยประมวลผลกลางขนาดเล็ก
หรือไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor)
ซึ่งทำให้มีขนาดเล็กลงเป็นพันเท่า
แต่มีพลังมากกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างมาก่อนเมื่อสิบหรือสิบห้าปีมาแล้ว
|
สื่อประสม
ประเภทของคอมพิวเตอร์
คลิกค่ะ
|
นาโนอิเล็กทรอนิกส์
ดร. ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ ปัจจุบันเรากำลังอาศัยอยู่ในโลกอิเล็กทรอนิกส์และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ศาสตร์ของอิเล็กทรอนิกส์ทำให้มนุษย์เรา สรรสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกขึ้นมามากมาย และดูเหมือนไม่ว่าเราจะมองไป ณ ที่แห่งใดก็ตามที่อารยะธรรมของมนุษย์แผ่ไปถึง เราก็จะพบสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ ที่มีส่วนของอิเล็กทรอนิกส์เป็นองค์ประกอบอยู่แทบทั้งสิ้น จนอาจกล่าวได้ว่าอิเล็กทรอนิกส์เป็นพื้นฐานของอารยะธรรมสมัยใหม่ บทความนาโนเทคโนโลยีในตอนนี้ จึงมุ่งไปที่บทบาทของนาโนเทคโนโลยีที่กำลังจะเข้าไปปรับเปลี่ยนทิศทาง และพัฒนาศาสตร์ของอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งกำลังจะเดินทางมาถึงจุดอับ ให้สามารถพัฒนาต่อไปได้ การกล่าวเช่นนี้ อาจทำให้หลายๆ ท่านรู้สึกไม่สบายใจเท่าไรนัก วิศวกรคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ไม่อยากยอมรับความจริงข้อนี้ ความจริงที่ว่าเราอาจจะไม่สามารถรักษาสถิติเดิมๆ ที่เราสามารถพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีความเร็วสูงขึ้นในอัตราที่สูง ดังที่ กอร์ดอน มัวร์ ผู้ก่อตั้งบริษัทอินเทลกล่าวไว้ว่า "จำนวนของทรานซิสเตอร์ซึ่งบรรจุอยู่บนแผ่นวงจรรวม หรือ ไมโครชิพ นี้จะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าทุกๆ 18 เดือน" คำกล่าวอันสร้างชื่อแก่เขาในฐานะกฎของมัวร์ (Moore's Law) ซึ่งได้รับการยอมรับ และเป็นแรงกดดันให้วงการผลิตชิพสามารถพัฒนาชิพ ให้มีความเร็วสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ซื้อมาใหม่มีอันต้องล้าสมัยไปทุกๆ ปีครึ่งเช่นเดียวกัน แต่กฎของมัวร์นี้กำลังจะถูกสั่นคลอน การเพิ่มจำนวนทรานซิสเตอร์ลงไปบนชิพด้วยการย่อขนาดของวงจรกำลังจะมาถึงขีดจำกัด เพื่อให้เข้าใจสถานการณ์นี้อย่างแจ่มชัด เราน่าจะมาทำความเข้าใจกับพัฒนาการของวงการอิเล็กทรอนิกส์กันก่อน
|
||||||
ลอจิกเกต
(LOGIC GATE)
PLC
ทำงานด้วยหลักการของ binary คือ เป็นอย่างใดอย่างหนึ่งใน 2
สถานะ เช่น สูงหรือต่ำ
อินเวอร์เตอร์ INVERTER-NOT
แอนด์เกต AND GATE
|
||||||
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
|
||||||
การทดลองเสมือนจริง ลอจิกเกตพื้นฐาน ห้องทดลอง ทางอินเตอร์เน็ต เรื่อง ลอจิกเกตพื้นฐาน
|
จากเม็ดทรายถึงดวงดาว กว่าจะได้ ไอซี โดย ศิริสาร เขตปิยรัตน์ Update กันยายน 51
|
50 ปี IC อุปกรณ์ที่เปลี่ยนโลก โดย ธวัชชัย ดุลยสุจริต จาก Update กันยายน 51
|
ทฤษฎี และการใช้งาน อิเลคทรอนิคส์ เล่ม 1 โดย ยืน ภู่วรวรรณ |
ทฤษฎี และการใช้งาน อิเลคทรอนิคส์ เล่ม 2 โดย ยืน ภู่วรวรรณ |
ขยะอิเล็กทรอนิกส์หน้าตาเป็นอย่างไร
ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ภัยร้ายใกล้ตัว
|
electronic
เบื้องต้น ของ อ.อาทิตย์ ลภิรัตนากูล ภาควิชาฟิสิกส์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 32
แผ่น
คลิกครับ
![]() |
|
อิเล็กทรอนิกส์ แผ่นใส powerpoint จำนวน 5 แผ่น คลิกครับ
|
|
อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ แผ่นใส powerpoint จำนวน
11 แผ่น
คลิกครับ
![]() |
|
|
NANOTECHNOLOGY หมายถึงอะไร
เป็นเทคโนโลยีในการประกอบและผลิตสิ่งต่างๆขึ้นมาจากการจัดเรียงอะตอม
หรือโมเลกุล เข้าด้วยกันด้วยความแม่นยำ และถูกต้องในระดับนาโนเมตร
0.1-100 นาโนเมตร
เทียบกับเส้นผมคน เส้น f 10 ไมโครเมตร
= 10,000 นาโนเมตร
พื้นฐาน
วิชาฟิสิกส์อะตอมและกลศาสตร์ควอนตัม ผสมผสานวิชา ชีววิทยา ชีวเคมี
วิศวกรรมศาสตร์สาขาหุ่นยนต์และเครื่องจักรกล
ระดับการพัฒนายังอยู่เพียงขั้นเริ่มต้น
ดูเป็นแผ่น คลิกครับ |
|
ในปี ค.ศ.
1948 ได้เกิดสิ่งประดิษฐ์ขนาดเท่ากับปลายนิ้ว
มันถูกเรียกว่า ทรานซิสเตอร์
ตอนแรกที่นักประดิษฐ์ทั้งสามเปิดเผยออกสู่สาธารณชนไม่มีใครให้ความสนใจเลย
แต่ในปัจจุบันสิ่งประดิษฐ์นี้เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญยิ่งของอุปกรณ์ทางไฟฟ้าแทบทุกชนิด
ในวีดีโอชุดนี้
คุณจะได้เห็นการพัฒนาของทรานซิสเตอร์อย่างต่อเนื่องจนถึงคอมพิวเตอร์
คลิกครับ
(windows media 4.8 MB) ![]() |
คอมพิวเตอร์ ทุกวันนี้ผู้คนกว่าพันล้าน
ใช้เครื่องจักรชนิดหนึ่งภายในบ้าน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน
มันมีความสามารถอย่างอเนกอนันต์ เช่น
คำนวณคำสั่งนับล้านคำสั่งได้ไม่กี่วินาที
และย่อโลกของเราลงเหลือเพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัส
สิ่งประดิษฐ์นี้มีชื่อเรียกว่า คอมพิวเตอร์
จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาจากเด็กหนุ่มขี้เล่น 2
คน ที่นั่งประดิษฐ์คิดค้นกันอยู่ในโรงรถ
อยากทราบประวัติอย่างละเอียด
คลิกครับ
(2.6 MB)
|
|
|
นายโรเบิรต์ กาแฮม
ได้ก่อตั้งธนาคารเก็บเชื้ออสุจิ
เขาจะเลือกเก็บจากพ่อพันธุ์ที่มีสติปัญญาสูง
เช่นพวกที่ได้รับรางวัลโนเบล
โดยแช่เชื้อเหล่านี้ไว้ในไนโตรเจนเหลว
ปัญหาอยู่ที่ว่า
ผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลมีน้อย
และหวาดระแวงผู้ที่จะทำการเก็บเชื้ออสุจิของพวกเขา
มีเพียงนายวิลเลี่ยม ชอร์คเลย์
ที่ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์
ยอมรับเป็นคนแรกว่า
เขาให้น้ำเชื้อกับธนาคารนี้
คลิกครับ (windows media 1.4
MB) ![]() William Shockley นักฟิสิกส์โนเบลที่มีแต่คนสาปแช่ง
William Shockley นักฟิสิกส์รางวัลโนเบลที่มีผู้คนสาปแช่งมากที่สุด หลังจากเดินสายพูดในสิ่งที่ตัวเองเชื่อแต่ไม่เชี่ยวชาญ (ภาพจากเว็บไซต์โนเบล) |
|
อินเตอร์เน็ต
เครือข่ายการสื่อสารแบบนี้ ลอกเลียนแบบมาจากการวิ่งของหนูออกจากเขาวงกต
ครั้งแรกมันยังไม่รู้จักสถานที่ จึงออกได้ช้า แต่ครั้งต่อไปจะเร็วขึ้น
การสื่อสารที่เรียนรู้ด้วยตนเองได้นี้ ภายหลังถูกเรียกว่า อินเตอร์เน็ต
คลิกครับ
|
|
เซลล์แสงอาทิตย์ 1/3 Solar cell Solar cell เซลล์แสงอาทิตย์
เป็นเครื่องมือที่ใช้เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นไฟฟ้า ทำขึ้นจากสารกึ่งตัวนำชนิด
N และ P นำมาต่อกัน โดยชั้น N จะบางกว่าชั้น P
ส่วนของรอยต่อเมื่อโดนแสงอาทิตย์จะทำให้บริเวณรอยต่อนี้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าขึ้น
ขั้นตอนการเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นไฟฟ้าเป็นดังนี้ 1.
การดูดกลืนแสงอาทิตย์ 2. การกำเนิดประจุบวกและลบ 3.
การเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นเมื่อต่อครบวงจร
|
|
เซลล์แสงอาทิตย์ 2/3 การใช้งาน
วิธีการต่อโลดจากแผงโซลาร์เซลล์ โดยที่ในตอนกลางวัน
ให้ไปเก็บไว้ในแบตเตอร์รี่ เมื่อถึงเวลากลางคืนจึงนำไฟที่ได้ไปใช้
กับหลอดนีออน พัดลม ตู้เย็น และโทรทัศน์ เป็นต้น
เซลล์แสงอาทิตย์มีอายุการใช้งาน 10-20 ปี โดยไม่ต้องบำรุงรักษา
|
|
เซลล์แสงอาทิตย์ 3/3 การใช้งานบนหมู่บ้านเขาแก่งเลียง
เราจะได้เห็นภาพชินตาที่ทุึกวันคนในหมู่บ้านจะผลัดเวรนำแบตเตอรี่มาประจุในตอนกลางวัน
อายุของแบตขึ้นกับวิธีการใช้
ในวีดีโอท่านจะได้เห็นดาวเทียมที่ใช้แผงเซลล์แสงอาทิตย์
ที่ออกแบบมาเป็นพิเศษป้องกันรังสีแกมม่าจากดวงอาทิตย์และอวกาศ
|
|
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
คลิกค่ะ
ประวัติความเป็นมาอินเทอร์เน็ต คือ การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ตามโครงการของอาร์ป้าเน็ต (ARPAnet = Advanced Research Projects Agency Network) เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้งเมื่อประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่อยมา
|
ภาพทรานซิสเตอร์ตัวแรกของโลก ซึ่งใช้สารกึ่งตัวนำเป็นวัสดุในการทำ ปัจจุบันอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เกือบทุกประเภทล้วนใช้ส่วนประกอบของทรานซิสเตอร์ อ่านโครงสร้างและการทำงานของหลอดสูญญากาศ และ การทำงานของทรานซิสเตอร์ |
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ l วงจรอิเล็กทรอนิกส์
l การต่อวงจร
เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ
ที่อำนวยความสะดวกในปัจจุบันอย่างเช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ |
บทความเพิ่มเติม 1.
คำถาม สังเกตการทำงานของ โซลาร์เซลล์ว่า ไฟฟ้าเคลื่อนที่ได้อย่างไร ? 2. ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต คลิกค่ะ 3. อุปกรณ์ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ ทรานซิสเตอร์คืออะไร ทรานซิสเตอร์ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งซึ่งมีความสำคัญมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เพราะแทบทุกวงจรเรามักจะเห็นตัวทรานซิสเตอร์เป็นส่วนหนึ่งของวงจรนั้นๆด้วยรูปทรานซิสเตอร์คลิกค่ะ4. หลอดสุญญากาศ เจ้าของกิจการแห่งหนึ่ง
ได้เก็บสะสมหลอดสุญญากาศเป็นเวลาหลายสิบกว่า ได้กว่า
ล้านหลอด เขากล่าวว่า
"วันนี้ความก้าวหน้าทางอิเล็กทรอนิกส์ไปได้ไกลมาก
แต่ทั้งหมดเริ่มต้นมาจากประกายไฟในหลอดสุญญากาศทั้งสิ้น
"
คลิกค่ะ
5. วงจรเรียงกระแสแบบบริดส์
คลิกเข้าสู่การทดลองครับ
6. วงจรเครื่องช๊อตไฟฟ้า (Stun Gun)
7. ไม้ตียุงไฟฟ้า (electronic mosquito trap)
8. ไส้ดินสอกับ ชิฟคอมพิวเตอร์
คลิกครับ 9. อำลาอาลัย ฟลอปปีดิสก์ ฉันจะคิดถึงเธอ... คลิกครับ 10. ทฤษฎี และการใช้งาน อิเลคทรอนิคส์ เล่ม 3 โดย ยืน ภู่วรวรรณ คลิกครับ 11. ปรากฏการณ์เพียโซอิเล็กทริก (piezoelectric effect) คลิกครับ 12. คาร์บอนอิเล็กทรอนิกส์ โดย ผศ. ดร.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ จาก UPDATE ปีที่ 22 ฉบับที่ 243 คลิกค่ะ
13.
ทรานซิสเตอร์ (บรรยายเป็นภาษาอังกฤษ)
การทดลองเรื่องทรานซิสเตอร์
เปรียบเทียบทรานซิสเตอร์กับวาวล์น้ำ
15. Solar cell
16.
ขยะอิเล็กทรอนิกส์ และการกำจัด
คลิกค่ะ 17. สารกึ่งตัวนำคืออะไร ลอจิกเกต (LOGIC GATE) การทำงานของทรานซิสเตอร์ 18. John Bardeen: ผู้พิชิตรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ 2 ครั้ง 19. มือถือตกน้ำ 21. การใช้โอห์มมิเตอร์วัดหาตำแหน่งขาของ LED ดวงเดี่ยว 22. ประโยชน์ของถ่าน (สารกึ่งตัวนำ) การพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
24.
เครื่องบินพลังงานแสงอาทิตย์เริ่มภารกิจเดินทางข้ามอเมริกา
คลิกครับ บรรยายความคิดเห็นผ่านทาง Facebook |
(วิธีทำ ให้ ใส่ชื่อ สกุล เลือกวิชาที่สอบ และจำนวนข้อ แต่ต้องไม่เกินจากที่กำหนดไว้ เช่น กำหนดไว้ 10 ข้อ เวลาเลือกจำนวนข้อ ให้เลือก 5 และ 10 ข้อไม่เกินจากนี้ เป็นต้น เมื่อทำเสร็จสามารถดูคะแนนจากรายละเอียดผู้ทำข้อสอบได้ทันที
1. อิเล็กทรอนิกส์กับทรานซิสเตอร์ จำนวน 90 ข้อ
|