|
ความกว้างของสายฟ้า
คาร์ล ฟรีดริค เกาส์(Carl Friedrich Gauss) ค.ศ. 1777 - 1855
ประวัติ เกาส์เป็นชาวเยอรมัน บิดาเป็นชาวสวนและช่างปูน เกาส์แสดงความสามารถทางคณิตศาสตร์ตั้งแต่เด็ก ท่านค้นพบข้อผิดพลาดในบัญชีจ่ายเงินของบิดา เมื่ออายุ 10 ปี ท่านสามารถหาผลบวกของ 1+2+3+...+100 โดยสังเกตว่า 100+1 = 101 , 99+2 = 101 , 98+3 = 101 ซึ่งมีทั้งหมด 50 คู่ ดังนั้น คำตอบคือ หรือ 5050 ท่านได้รับการสนับสนุนจาก Duke of Brunswick ให้ศึกษาต่อระดับสูงจนสำเร็จปริญญาเอก ในปี 1807 ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์สาขาคณิตศาสตร์ที่ Gottingen และทำงานที่นี่จนถึงแก่กรรม ผลงานสำคัญ ท่านได้พัฒนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ระดับสูงหลายด้าน
ประกายไฟฟ้า | |||
|
||||
|
โลหะรูปทรงกลมรัศมี
10 เซนติเมตร มีประจุ 10-9 คูลอมบ์ ดังรูป จงหางานในการนำโปรตอน
1 ตัว เคลื่อนที่จากจุด B มายังจุด A
![]() |
|||
|
ปี พ.ศ. 2295 แฟรงกลินจึงได้ตัดสินใจค้นคว้าหาความจริงเกี่ยวกับไฟฟ้าในอากาศ
เขาทำการสั่งขวดเลเดนเข้าไปศึกษาในอเมริกา
ครั้นเมื่อได้ศึกษาอย่างเละเอียดลออแล้ว เขาสังเกตเห็นว่า "สปาร์ค" ไฟขึ้นบ่อยๆ
เมื่อขวดเลเดนปล่อยประจุออกมาจากที่เก็บ เป็นลักษณะคล้ายกับ "ฟ้าแลบ" ต่อมา
![]() |
นำมาจาก ไฟฟ้า-แม่เหล็ก ของ ดร.เฉลียว มณีเลิศ คลิกค่ะ
|
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง กฎของเกาส์ (ภาคบรรยาย) |
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง กฎของเกาส์ (อ.วัชระ)
|
ฟ้าผ่าเกิดขึ้นได้อย่างไร ลมซึ่งประกอบด้วยโมเลกุลของแก๊สชนิดต่าง ๆ เมื่อพัดด้วยความเร็วสูงจะทำให้เกิดการขัดสีกับผิวพื้นโลกและสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ จึงทำให้โมเลกุลของลมได้รับอิเลคตรอน และไปถ่ายเทให้กับด้านล่างของก้อนเมฆ ฟ้าผ่า
"ควร"- "ไม่ควร" ทำอะไรในเวลาฟ้าแลบฟ้าร้อง ฤดูฝนอย่างนี้ ฝนฟ้ามามืดกันแทบทุกวัน แถมบางวันฟ้าร้องโครมคราม ฟ้าแลบแถมมาอีกต่างหาก ตกใจกันได้ง่ายๆ เมื่ออยู่ใต้ฟ้า จะกลัวอะไรกับฝน อย่างที่เพลง สมัยก่อนเขาร้องกัน ถ้าหากจะไม่กลัว ก็ต้องรู้วิธีป้องกันตัวล่ะค่ะ ยิ่งเวลาพายุโหม กระหน่ำเข้ามายิ่งต้อง ระมัดระวังตัวกันมากยิ่งขึ้น ข้อมูลทางด้านป้องกันสาธารณภัยบอกว่า เมื่อเวลามีพายุใกล้เข้ามา ต้อง หาที่หลบเสียก่อนจะในอาคาร หรือในรถก็ได้ อย่าลืมปิดหน้าต่างดึงม่านลงด้วย ส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ก็ถอดปลั๊กออกมาเสียก่อน และในระหว่างนั้นก็หยุดเม้าท์โทรศัพท์ชั่วครู่ น้ำท่าก็อย่าเพิ่งเปิดถ้าเป็นไปได้จะปิดเครื่องปรับอากาศเสียด้วยก็จะดียิ่งขึ้น เพราะระหว่างที่ฟ้าแลบนั้นพลังไฟฟ้ากำลังหาที่ลง อาจทำให้คอมเพรสเซอร์หรือระบบต่างๆเสียหายได้
ขณะที่ภูเขาไฟซากุระจิม่า ในประเทศญี่ปุ่นเกิดระเบิดขึ้น บริเวณปากปล่องภูเขาไฟจะมีการสปาร์คของไฟฟ้าอย่างรุนแรง ส่งเสียงคำรามอย่างสนั่นหวั่นไหว คล้ายกับเสียงฟ้าผ่า อย่างไรก็ตามที่เราเห็นฟ้าผ่าตามปกติทั่วไปกับที่เห็นอยู่เหนือปากปล่องภูเขาไฟไม่ใช่ปรากฏการณ์เดียวกัน เพราะฟ้าจะผ่าจากเมฆลงดิน แต่ที่เห็นในรูปภาพมีทั้งผ่าขึ้นบนฟ้า ผ่าลงล่าง จากซ้ายไปขวา หรือผ่าอยู่หน้าปล่องเลยก็มี เราสามารถอธิบายการผ่าของสายฟ้าในลักษณะนี้ได้อย่างไร นักฟิสิกส์ มีคำตอบให้กับคุณ เมื่อภูเขาไฟซากุระจิม่าประทุขึ้น มันจะพ่นพวกเถ้าถ่านและไอน้ำ ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนสถานะจากน้ำเป็นไอ พุ่งขึ้นไปบนอากาศ และเพราะการระเบิดของหินอย่างรุนแรง ทำให้ประจุบวกและลบแยกออกจากกัน ก่อตัวเป็นกลุ่มเมฆ ซึ่งประกอบด้วยก้อนประจุบวก และก้อนประจุลลบ เป็นหย่อมๆอยู่เหนือปล่อง เมื่อก้อนประจุเหล่านี้โตขึ้น สนามไฟฟ้าระหว่างก้อนประจุจะมีขนาดมากขึ้นด้วย เมื่อไรก็ตามที่สนามไฟฟ้ามีค่ามากกว่า 3,000,000 N/C หรือ สามล้านโวลต์ต่อเมตร อากาศโดยรอบจะถูกทำให้แตกตัว เป็นอิออนและสามารถนำไฟฟ้าได้ ขณะที่อิเล็กตรอนไหลผ่านอากาศ มันจะกระทบเข้ากับอากาศ ทำให้โมเลกุลของอากาศเปล่งแสงออกมา ที่เราเรียกว่าการสปาร์ค ดูรูปล่างเป็นถ้วยไฟฟ้าสร้างขึ้นในห้องทดลอง และกำลังเกิดการสปาร์ค การสปาร์คเหนือปล่องภูเขาไฟ อาจจะเกิดจากกลุ่มก้อนประจุที่อยู่เหนือปล่องและพุ่งลงมาที่ปากปล่อง หรือจากปากปล่องพุ่งขึ้นไปที่ก้อนประจุก็ได้ และคุณสามารถดูทิศทางของการสปาร์ค โดยดูกิ่งก้านสาขาของประจุไฟฟ้าที่พุ่งออกไป ถ้าประจุไฟฟ้าพุ่งจากบนลงล่าง จะเห็นเป็นเส้นทางขดเคี้ยวเหมือนงู สะบัดไปมาพุ่งจากข้างบนลงข้างล่าง และแตกออกเป็นสาขาด้านล่าง หรือถ้าประจุไฟฟ้าพุ่งจากล่างขึ้นบน จะเห็นเป็นเส้นทางขดเคี้ยวเหมือนงู สะบัดไปมาพุ่งจากข้างล่างขึ้นข้างบน และแตกออกเป็นสาขาด้านบน ในรูปภาพประจุมีการเคลื่อนที่หลายลักษณะ ให้คุณสังเกตดูเอาเอง
|
|
ฟ้าผ่า
ฟ้าผ่าไม่จำเป็นต้องเกิดท่ามกลางพายุฝนแต่เพียงอย่างเดียว เถ้าภูเขาไฟ
ลมทอร์นาโด หิมะ และพายุทราย ก็สามารถเกิดได้ทั้งสิ้น
ยังมีฟ้าผ่าอีกหลายประเภท ในปี 1989
นักวิทยาศาสตร์ค้นพบฟ้าผ่าที่เกิดขึ้นบนชั้นบรรยากาศของโลก มีการถ่ายภาพไว้
ฟ้าผ่านี้เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 100
กิโลเมตรต่อชั่วโมง น่าประหลาดใจมาก
แต่ยังไม่เท่ากับฟ้าผ่าทางเหนือของอินเดียในปี 2002
มีคนเห็นลูกไฟลอยไปมาเหนือพื้นดิน
มีเสียงฟู่เกิดขึ้นโดยรอบ บางคนบอกว่าเป็นเพียงอนุภาคซิลิคอนลุกไหม้ไฟ
คลิกครับ
(windows media 3.3 MB) |
|
ฟ้าผ่าปลา นักวิทยาศาสตร์ใช้ฟ้าผ่าจำลองที่มีแรงดันไฟฟ้าสูงมาก ผ่าลงไปในน้ำที่มีปลาว่ายไปมา คำถาม ปลาจะปลอดภัยจากฟ้าผ่าเมื่อซ่อนอยู่ที่ใด
อยากทราบคลิกค่ะ
ขนาด 5 MB
|
|
ฟลักซ์ของสนามไฟฟ้า ดูด้วย windows media
คลิกครับ
|
|
ตัวอย่างฟลักซ์ ดูด้วย windows media
|
|
กล่องฟลักซ์ ดูด้วย windows media
|
มนุษย์ไฟฟ้า คำถาม ใครจะป้องกันตัวเองจากฟ้าผ่าได้ดีที่สุด
|
|
|
ฟ้าร้อง คำถาม ฟ้าร้องเกิดจากอะไร
|
|
ฟ้าผ่าลงบนต้นไม้
คลิกครับ
|
กฎของเกาส์ จำนวน 16 แผ่น
ของ อ. ดร. สมชาย
เกียรติกมลชัย
คลิกค่ะ
![]() |
|
กฎของคูลอมบ์และกฎของเกาส์
อธิบายความหมายของสนาม ทั้งสนามเวกเตอร์ และสนามสเกลาร์
กฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้าของประจุลักษณะต่างๆ ฟลักซ์ไฟฟ้า
กฎของเกาส์ เส้นประจุยาวมาก และแผ่นประจุ
ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จำนวน 36
แผ่น
คลิกครับ
|
|
สนามไฟฟ้า กฎของคูลอมบ์ ประจุไฟฟ้า สนาม
(Field) เวกเตอร์ สนามไฟฟ้า การหาสนามไฟฟ้า
การเคลื่อนที่ของประจุในสนาม กฎของเกาส์ จำนวน 52 แผ่น
คลิกค่ะ
|
ความกว้างของสายฟ้า การผ่าของสายฟ้าแต่ละครั้ง มีจำนวนอิเล็กตรอนประมาณ 1020 ตัววิ่งจากเมฆลงสู่พื้นดินด้านล่าง คุณอยากทราบไหมว่า ความกว้างของสายฟ้ามันมีขนาดเท่าไรกันแน่ เพื่อที่จะได้อยู่ห่างอย่างปลอดภัยที่สุด ให้นักศึกษากลุ่มต่างๆ ทดลองบรรยายลงในกระดานฟิสิกส์ราชมงคล คำนวณหาความกว้างของสายฟ้า โดยใช้กฎของเกาส์ และตอบคำถามด้วยว่า ทำไมฟ้าจึงผ่าลงต้นไม้ และเราต้องอยู่ห่างจากสายฟ้าประมาณเท่าไรจึงจะปลอดภัย คลิกดูทฤษฎี ฟ้าผ่าคือไฟฟ้ารูปแบบหนึ่งที่เกิดขึ้นในระหว่างที่มีพายุฝนฟ้าคะนอง โดยก้อนเมฆจะสะสมพลังงานไฟฟ้าเอาไว้จนมากพอที่จะวิ่งไปมาระหว่างกันหรือผ่าลงมาสู่พื้นดินทำให้เกิดเป็นฟ้าผ่า
ไฟฟ้าคืออะไร มีประโยชน์อย่างไรบ้าง
ถ้าไม่ทราบคลิกครับ
|
เรียนฟิสิกส์ออนไลน์ (เสียงภาษาอังกฤษ) มีคำบรรยายเป็นภาษาอังกฤษทุกตัวอักษร พร้อมทำแบบฝึกหัด
กฎของเกาส์ (GAUSS'S LAW) |
บทความเพิ่มเติม 1. ป้องกันฟ้าผ่ามี 2 ตอน ขณะฝนฟ้าคะนอง
ถ้าเราอยู่ในที่โล่งแจ้ง
อันตรายจะมากกว่าเมื่อนั่งอยู่ในรถยนต์หรือเครื่องบิน
เป็นเพราะอะไร เรามาทดลองกันในวีดีโอชุดนี้
คลิกค่ะ
2. เครื่องบิน โบว์อิ้ง 747 ถูกฟ้าผ่าเห็นกันจะๆ Boeing 747 Gets Hit By Lightning ขณะกำลังบินขึ้น ผ่ากลางลำ
คลิกค่ะ
3.
ฟ้าผ่า สายล่อฟ้า กรงของฟาราเดย์
4.
นายเจย์ ไฟน์ ช่างภาพชาวนิวยอร์ก วัย 58 ปี สามารถบันทึกภาพวินาทีเทพีสันติภาพถูกฟ้าผ่าได้ ภายหลังเขาใช้เวลาทั้งคืนคอยบันทึกภาพดังกล่าว บริเวณแบ็ตตอรี่ พาร์ค ของย่านแมนฮัตตัน โดยเขาได้เวลาเกือบ 2 ชม.พยายามบันทึกภาพฟ้าผ่าเทพีสันติภาพ โดยได้ถ่ายภาพเป็นจำนวนกว่า 80 รูป และโชคดีที่สามารถจับภาพดังกล่าวได้อย่างสมหวัง ซึ่งเหตุการณ์ฟ้าผ่าเทพีสันติภาพเกิดขึ้นเมื่อเวลา 20.45 น.เมื่อวันที่ 22 ก.ย.และที่ผ่านมา เขาได้พยายามมากว่า 40 ปี ก่อนจะได้ภาพดังกล่าวอย่างสมใจ คลิกอ่านต่อครับ 5. กระดาษฟอยล์กับโทรศัพท์มือถือ (กรงขังฟาราเดย์) 7. ชมปรากฏการณ์ปริศนา ฟ้าผ่า″ ระหว่างภูเขาไฟประทุที่ชิลี 8. หนึ่งเดียวในโลก ส้มผัสช๊อตภาพสุดยอดเหลือเชื่อ เมื่อ"หอไอเฟลถูกฟ้าผ่า" 9. สุดทึ่ง ช่างภาพมะกันบันทึกภาพวินาทีระทึกฟ้าผ่าสะพานสหรัฐ 10. ฟ้าผ่า 11. ดร.บัญชาอธิบายเรื่องฟ้าผ่า 12. จับภาพวินาทึสุดระทึก ฟ้าผ่าตึกสูงชื่อดัง 15 ระลอก ระหว่างเกิดพายุฝน (ชมคลิป) 13. อันตรายจากฟ้าผ่า 14. คลิปหนุ่มโชคดี เกือบโดนฟ้าผ่าเต็มๆ รอดตายหวุดหวิด
|
![]() |
![]()
|
![]() |
![]() |
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฟิสิกส์ 2 | คู่มือการเรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฟิสิกส์ 2 | คู่มือปฏิบัติการ ฟิสิกส์ 2 |
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่
การเรียนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต