|
สนามไฟฟ้า แรงที่เกิดจากไฟฟ้าสถิต เป็นหลักการที่สำคัญสำหรับงานถ่ายเอกสาร เราเรียกกระบวนการถ่ายเอกสารว่า ซีโรกราฟฟี่ แปลมาจากภาษากรีกว่า การเขียนแบบแห้ง อุปกรณ์ที่สำคัญสุดในเครื่องถ่ายเอกสารคือลูกกลิ้งที่ทำจากอลูมิเนียม เคลือบด้วยเซลีเนียม (selenium) ดังรูป อลูมิเนียมเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดีมาก ส่วนเซลีเนียมเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ไวต่อแสง เรียกอีกชื่อหนี่งว่า โฟโต้คอนดักเตอร์ คือทำตัวเป็นฉนวนเมื่ออยู่ในที่มืด และเปลี่ยนเป็นตัวนำไฟฟ้าเมื่อโดนแสง ในขณะที่เซลีเนียมเป็นฉนวนหรืออยู่ในที่มืด มันสามารถเก็บประจุไว้ที่ผิวได้ แต่เมื่อลูกกลิ้งหรือเซลีเนียมโดนแสง ประจุบวกจากอลูมิเนียมจะไหลผ่านเข้าไปในเซลีเนียม จะทำให้เซลีเนียมเป็นกลางทางไฟฟ้า อ่านต่อครับ | |||
|
||||
|
ทรงกลมที่มีประจุ 2 ทรงกลม
ต่างมีประจุบวกที่มีขนาดเท่ากันวางห่างกันเป็นระยะทางขนาดหนึ่ง
เส้นแรงไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในข้อใดถูกต้อง
ก. ข. ค. ง. |
|||
|
เตาอบไมโครเวฟ คุณเคยสงสัยไหมว่าทำไมเจ้าไมโครเวฟ อุปกรณ์ไฟฟ้าชิ้นย่อมๆ จึงทำให้น้ำเดือดได้ และยิ่งไปกว่านั้นหากคุณเคยประสบอุบัติเหตุจากการต้มกาแฟด้วยไมโครเวฟ ทำไมแค่เติมผงกาแฟลงไปเพียงเล็กน้อย กลับทำให้เกิดการระเบิดของน้ำกาแฟเต็มเจ้าเตาไมโครเวฟของคุณ การกระจายของน้ำตามรูปเกิดขึ้นได้อย่างไร และเจ้าไมโครเวฟทำอาหารอร่อยๆ ให้คุณได้อย่างไร????? |
|||
ในห้องทดลองนี้คุณสามารถลากประจุ 2 อัน ได้ด้วยเมาส์ และเปลี่ยนขนาดและชนิดของประจุ โดยการคลิกลงบนกล่อง ถ้าคุณมีคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วค่อนข้างต่ำ การแสดงผลอาจจะช้า เพราะจะต้องคำนวณทิศทางของสนามไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลา ให้คุณลองเปลี่ยนรายละเอียดของจุดให้ต่ำลงโดยการกดปุ่ม Quick หรือ Medium และตอบคำถามต่อไปนี้ 1. วาดภาพโดยให้ประจุ q1 = -2 และ q2 = 3 2. วาดภาพโดยให้ประจุ q1 = -1 และ q2 = -1 3. วาดภาพโดยให้ประจุ q1 = 1 และ q2 = 3 4. จากข้อ 3 จุดที่สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์อยู่ห่างจากประจุ q1 กี่หน่วย กำหนดให้ระยะทางระหว่าง q1 และ q2 = 1 หน่วย กดที่รูปภาพหรือที่นี่เพื่อเข้าสู่การทดลอง ถ้าทดลองไม่ได้ ให้ Download
| ||||
การทดลองนี้แสดงการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนภายในสนามไฟฟ้าที่มีขนาดคงที่ โดยสามารถเปลี่ยน ค่า E , vx และ vy ได้ เมื่อการเคลื่อนที่สิ้นสุดลง คอมพิวเตอร์จะแสดงค่า x ,y , vx , vy และ t และมุมล่างขวาเป็นกราฟพล๊อตค่า y เทียบกับความต่างศักย์ V ทดลองกำหนดให้ E = 0 และ vy = 0 และยิงอิเล็กตรอนด้วยความเร็ว v x เมื่อไม่มีสนามไฟฟ้า ก็ไม่มีแรงทางไฟฟ้ากระทำในแนวดิ่ง ดังนั้นอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ |
Electric Fields of Point-Charges สนามไฟฟ้าของจุดประจุ |
Charges and Fields
Move point charges around on the playing field and then view the electric field, voltages, equipotential lines, and more. It's colorful, it's dynamic, it's free. ขนาดของไฟล์ 34 KB คลิกค่ะ |
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สนามไฟฟ้า (ภาคบรรยาย) 1.5 สนามไฟฟ้าของกลุ่มประจุที่กระจายอย่างต่อเนื่อง
|
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง สนามไฟฟ้า (อ.วัชระ)
|
1. เริ่มต้นจากดรัมซึ่งเคลือบด้วยสารซีลีเนียมหมุนไปโดยรอบ ภายใต้ขั้วไฟฟ้าแรงดันสูง (7,000 โวลต์) สารซีลีเนียมบนผิวดรัมจะเกิดมีประจุไฟฟ้าบวก (รูปที่ 2)
โครงสร้างของเครื่องถ่ายเอกสาร ขั้นตอนการทำงาน
การเกิดประจุไฟฟ้าแฝง การทำงานของหลอดไฟล้างประจุ
การถ่ายเทผงประจุ
คลิกค่ะ ผงหมึกในเครื่องถ่ายเอกสาร
ภาพเม็ดโลหะที่ใช้เป็นตัวเกาะของผงหมึกในเครื่องถ่ายเอกสาร อาศัยการดึงดูดทางไฟฟ้า ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเม็ดหมึกประมาณ 0.3 mm |
เตาอบไมโครเวฟ
![]() อบขนมฟู |
![]() คลื่นนิ่ง |
![]() การกำทอน |
![]() การปูกระเบื้อง |
![]() แม่เหล็ก |
![]() การหมุนของน้ำ |
![]() ไมโครเวฟกับน้ำ |
![]() ความเสียดทาน |
|
การสร้างคลื่นไมโครเวฟ รูปที่ 2 เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่ขั้วลบของแมกนีตรอน ก็จะปล่อยอนุภาคไฟฟ้าหรืออิเล็กตรอนออกมา อิเล็กตรอนจะวิ่งเข้าหาทรงกระบอกกลวงซึ่งภายในเซาะเป็นร่องยาวไว้ ทรงกระบอกนี้ล้อมอยู่รอบขั้วลบ และทำหน้าที่เป็นขั้วบวก ขณะเดียวกันสนามแม่เหล็กจากขั้วแม่เหล็ก ประกอบกับลักษณะช่องว่างเป็นร่องยาวจะส่งผลให้เกิดแรงผลักดันอิเล็กตรอนให้วิ่งเป็นวงกลมรอบขั้วลบ เกิดสภาพเหมือนกับมีกระแสไฟฟ้าไหลกลับไปกลับมาอย่างรวดเร็ว ซึ่งผลที่ได้ก็คือจะเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (เส้นที่มีลักษณะเป็นคลื่น) ที่มีอัตราการเปลี่ยนแปลงกลับไปกลับมาเท่ากันจากนั้นก้านส่งคลื่นก็จะส่งคลื่นเข้าสู่ท่อนำคลื่นต่อไป (ทิศทางตามลูกศร) คลิกอ่านต่อครับ |
เตาไมโครเวฟ ความสะดวกสบายราคาแพง ตัวก่อมะเร็ง จะเกิดอะไรขึ้น หากโมเลกุลของน้ำถูกเหวี่ยงด้วยความถี่ 2,450 ล้านรอบต่อวินาที ? ดิฉันตั้งคำถามกับตัวเอง เมื่อเปิดคู่มือการใช้เตาไมโครเวฟแล้วพบคำอธิบายว่า แมกนีตรอนในเตาไมโครเวฟจะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นคลื่นไมโครเวฟที่มีความถี่สูงถึง 2,450 ล้านรอบต่อนาที โมเลกุลของน้ำในอาหารจะเกิดการสั่นสะเทือนและเสียดกันจนเกิดความร้อน คลิกอ่านต่อครับ |
ระเบิดเตาไมโครเวฟ คำถาม เตาไมโครเวฟจะระเบิดเมื่อเราใส่สิ่งใดเข้าไป
|
แบบพิมพ์ดีเอ็นเอของครอบครัวหนึ่ง มีพ่อ (F) แม่ (M) ลูก 2 คน (C) โดยผ่านกระบวนการแยกทางไฟฟ้า
|
|
ปืนยิงอิเล็กตรอน ดูด้วย windows media คลิกครับ
|
|
ปืนยิงอิเล็กตรอน ยิ่งผ่านสนามไฟฟ้าของแผ่นประจุคู่ขนาน ดูด้วย windows media
|
|
สนามไฟฟ้าของจุดประจุ ดูด้วย windows media
|
|
สนามไฟฟ้าที่เกิดจาก การแบ่งเส้นลวดประจุ เป็นเส้นเล็กๆ และสนามไฟฟ้าที่เกิดจาก การอินทิเกรตเส้นลวดประจุตรง ดูด้วย windows media
|
|
สนามไฟฟ้าที่เกิดจาก การแบ่งวงลวดประจุ เป็นเส้นเล็กๆ และสนามไฟฟ้าที่เกิดจาก การอินทิเกรตวงลวดประจุ ดูด้วย windows media
|
|
สนามไฟฟ้าของประจุไดโพล ดูด้วย windows media
|
|
มือถือในเตาอบไมโครเวฟ จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเอาโทรศัพท์มือถือไปไว้ในเตาอบไมโครเวฟ และเปิดสวิทซ์เตา
คลิกครับ
|
เรียนฟิสิกส์ออนไลน์ (เสียงภาษาอังกฤษ) มีคำบรรยายเป็นภาษาอังกฤษทุกตัวอักษร พร้อมทำแบบฝึกหัด
สนามไฟฟ้า (Electric Fields) |
บทความเพิ่มเติม 1. สนามไฟฟ้าสถิต
คลิกเข้าสู่การทดลองค่ะ
2. ไข่นกกระจอกเทศระเบิดในไมโครเวฟ
ใส่ไข่นกกระจอกเทศเข้าไปในไมโครเวฟ และเปิด เดินออกไปให้ไกลๆ
จากเตา รอสักครู่ จะเกิดการระเบิด เตาแตกกระจาย คลิกครับ
|
![]() |
![]()
|
![]() |
![]() |
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฟิสิกส์ 2 | คู่มือการเรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฟิสิกส์ 2 | คู่มือปฏิบัติการ ฟิสิกส์ 2 |
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่
การเรียนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต