![]() |
ควาร์ก และแอนตี้ควาร์ก
เลือก แบริออน (baryons) หรือ เมซอน (Meson) และนำควาร์ก และแอนตี้ควาร์กไปวางไว้ในช่อง อนุภาคที่ได้คืออะไร บันทึกลงในตารางผลการทดลอง และเปรียบเทียบกับทฤษฎีว่าตรงกันหรือไม่
ตารางบันทึกผล
Mesons
ควาร์ก | อนุภาค |
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
Baryons
ควาร์ก | อนุภาค |
|
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
ทฤษฎี
ฟิสิกส์อนุภาคมูลฐานและจักรวาลวิทยา
-----------------------------------
บทนำ
เราจะกล่าวถึงอนุภาคอนุปรมาณู (Subatomic) ที่รู้จักกันดีหลายตัวกับอันตรกิริยาพื้นฐานที่ควบคุมพฤติกรรมของมัน อภิปรายทฤษฎีล่าสุดของอนุภาคมูลฐาน ซึ่งกล่าวว่าสสารทุกชนิดสร้างขึ้นมาจากอนุภาคเพียงสองสกุล คือ ควาร์ก (quarks) กับเลพตอน (leptons) ท้ายที่สุดเราจะอภิปรายว่าแบบจำลองเช่นนั้นมีความชัดเจนเพียงใดที่จะช่วยให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจถึงกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพได้
คำว่า อะตอม (atom)
มาจากภาษากรีกว่า atomos ซึ่งแปลว่า “แบ่งแยกไม่ได้”
ชาวกรีกโบราณเชื่อว่าอะตอมเป็นองค์ประกอบที่เล็กที่สุดของสสารที่ไม่อาจแบ่งแยกได้
นั่นคือ เขาเชื่อว่ามันเป็นอนุภาคมูลฐาน การทดลองในทศวรรษ 1890
และต้นศตวรรษที่ 20 ชี้ให้เห็นว่า แนวคิดเช่นนี้ไม่ถูกต้อง
หลังคริสตศักราช 1932 นักฟิสิกส์มองภาพสสารทุกชนิดว่าประกอบด้วยอนุภาค
3 ชนิด คือ อิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน เริ่มจากทศวรรษ 1940
มีการค้นพบอนุภาคใหม่ ๆ
จากการทดลองหลายชนิดทั้งนี้จากการชนด้วยอนุภาคพลังงานสูงที่เรารู้จักกันดีอยู่แล้ว
อนุภาคใหม่มีความไม่เสถียรอย่างยิ่ง และมีครึ่งชีวิตสั้นมาก
กล่าวคือมีพิสัยจาก
ถึง
จนถึงปัจจุบันเราค้นพบอนุภาคมูลฐานแล้วมากกว่า 300 ชนิด
อ่านต่อครับ