ทฤษฎีแกนขนาน
การทดสอบทฤษฎีแกนขนานโดยการหมุนมวล คุณสามารถวางมวลบนกลางโต๊ะ หรือมุมของโต๊ะก็ย่อมได้ และทำการทดลองหาความเร่งของระบบ เมื่อได้ความเร่งแล้ว นำไปหาโมเมนต์ความเฉื่อยได้จากสูตร
m = มวลที่ใช้แขวนในระบบ
R = คือรัศมีของโต๊ะหมุน ในห้องทดลองเสมือนจริงนี้ R = 0.25 เมตร
เมื่อคำนวณหาโมเมนต์ความเฉื่อยได้แล้ว ให้นำค่า 0.03 kg.m2 ซึ่งก็คือโมเมนต์ความเฉื่อยของโต๊ะ ลบอออก ค่าที่ได้ก็คือโมเมนต์ความเฉื่อยของมวลที่นำไปหมุน ณ จุดหมุนนั้นๆ ซึ่งถ้าคุณทดลองนอกจุดศูนย์กลางโต๊ะ ค่าที่ได้จะมีค่ามากกว่าเมื่อคิดค่าโมเมนต์ความเฉื่อยที่จุดศูนย์กลางของโต๊ะ
ใบบันทึกผลการทดลอง
ตารางที่ 1
กำหนดให้ m = 200 กรัม วางมวลไว้ที่จุด 1
a (m/s2) | I1 kg.m2 | |
วงแหวน | ||
ทรงกลมตัน | ||
ทรงกลมกลวง |
ทุกครั้งที่ต้องการกลับเข้าสู่ค่าเริ่มต้นให้กดปุ่ม Refresh ในเมนู View
ตารางที่ 2
กำหนดให้ m = 200 กรัม วางมวลไว้ที่จุด 7
a (m/s2) | I2 kg.m2 | |
วงแหวน | ||
ทรงกลมตัน | ||
ทรงกลมกลวง |
I1
=
IC
+ md21
I2 = IC + md22
I2 I1 = m(d22 - d21)
d2 = 0.25 เมตร d1 = 0.125 เมตร
ใบบันทึกผล
m | kg |
วงแหวน | |
ทรงกลมกลวง | |
ทรงกลมตัน |
เรื่องที่ 1. วิธีการหาโมเมนต์ความเฉื่อย
ครั้งที่
เรื่องการทดลองเสมือนจริง