รางวัลสาขาฟิสิกส์ |
|
ปี |
ผู้ได้รางวัล |
สัญชาติ |
ผลงาน |
1901 |
|
เรินท์เก็น W.Rontgen |
เยอรมัน |
|
ค้นพบรังสีเอ็กซ์เรย์ |
1902 |
|
ลอเรนทซ์ H.A.Lorentz |
ดัทช์ |
|
วิจัยทฤษฎีว่าด้วยอิเล็กตรอน |
|
|
ซีมัน P.Zeeman |
ดัทช์ |
|
ค้นพบการแตกแยกของแสงสเปกตรัมในสนาม |
|
|
|
|
|
แม่เหล็ก |
1903 |
|
แบ็ดเคอเรล A.H.Becquerel |
ฝรั่งเศส |
|
ค้นพบภาวะกัมมันตภาพรังสีธรรมชาติ |
|
|
ปิแอร์ คูรี P.Curie
ร่วมกัน |
ฝรั่งเศส |
|
ค้นพบเรเดียมและโปโลเนียม (radium & polonium) |
|
|
มาเรีย คูรี M.Curie |
ฝรั่งเศส |
|
|
1904 |
|
เรย์ลีจ์ L.Rayleigh |
อังกฤษ |
|
วิเคราะห์ความหนาแน่นของแก๊สและค้นพบก๊าซ |
|
|
|
|
|
อาร์กอน (Argon) |
1905 |
|
เลนนาร์ด P.Lenard |
เยอรมัน |
|
วิจัยกัมมันตรังสีของขั้วลบ |
1907 |
|
ไมเคิลสัน A.A.Michelson |
อเมริรัน |
|
วิจัยสเปคโตรมิเตอร์ (spectrometer) และวิชา |
|
|
|
|
|
ชั่งตวงวัด |
1908 |
|
ลิปป์มันน์ G.Lippman |
ฝรั่งเศส |
|
การผลิตจำลองรูปถ่ายธรรมชาติ |
1909 |
|
มาร์โคนี G.Marconi
ร่วมกับ |
อิตาลี |
|
มีผลงานในด้านวิทยุโทรเลขและเทคนิคการสื่อสาร |
|
|
บราวน์ K.Braun |
เยอรมัน |
|
|
1910 |
|
วาน เดอร์ วาลส์ J.van der Waals |
ดัทช์ |
|
วิจัยสมการของวัฎภาคหรือเฟส (equation of phase) |
|
|
|
|
|
ของแก๊สและของเหลว |
1911 |
|
เวียน W.Wien |
เยอรมัน |
|
ค้นพบกฎแห่งกัมมันตภาพความร้อน |
1912 |
|
ดาเลน N.G.Dalen |
สวีเดน |
|
ประดิษฐ์วาล์วโซลาร์สำหรับใช้กับประภาคารชายฝั่ง |
|
|
|
|
|
และทุ่น
แก้ปัญหากลอุปกรณ์ให้เป็นแบบอัตโนมัติ |
1913 |
|
ออนเนส H.K.Onnes |
ดัทช์ |
|
วิจัยสมบัติพิเศษแห่งสภาพอุณหภูมิของสารและ |
|
|
|
|
|
แนะนำวิธีการทำฮีเลียมเหลว (liquid helium) |
1914 |
|
เลาเออ Max von Laue |
เยอรมัน |
|
ค้นพบดิฟแฟรคชั่น (diffraction) ของรังสี X ในผลึก |
1915 |
|
บรากก์ W.h.Bragg ร่วมกับ |
อังกฤษ |
|
วิจัยโครงสร้างผลึกด้วยรังสี X |
|
|
บรากก์ W.L.Bragg |
|
|
|
1916 |
|
ไม่ได้มอบรางวัล |
|
|
|
1917 |
|
บาร์คลา C.Barkla |
อังกฤษ |
|
ค้นพบกัมมันตรังสี
X อันเป็นสัญลักษณ์ของ |
|
|
|
|
|
ธาตุประกอบ |
1918 |
|
พลังค์ M.Planck |
เยอรมัน |
|
สร้างทฤษฎีควอนตัม และค้นพบปฏิกิริยาของ |
|
|
|
|
|
ควอนตัม (quantum) |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ปี |
|
ผู้ได้รางวัล |
สัญชาติ |
ผลงาน |
|
|
สต๊าร์ค J.Stark |
เยอรมัน |
|
วิจัยผลสะท้อนของกัมมันตภาพรังสีอะตอม ตามหลัก |
|
|
|
|
|
ทฤษฎีประสิทธิภาพดอปเปลอร์ (Doppler effect) ใน |
|
|
|
|
|
วิถึการเคลื่อนไหวและการแตกแยกในเส้นสเปรกตรัม |
|
|
|
|
|
ของสนามไฟฟ้า |
1920 |
|
อีจูม C.Guillaume |
สวิส |
|
ค้นพบความผิดปกติวินัยของโลหะเจือ (alloy) |
|
|
|
|
|
นิเกิล-เหล็ก |
1921 |
|
ไอน์สไตน์
A.Einstein |
สวิส |
|
วิจัยสมมติฐานของโฟตอน (photon) และ |
|
|
|
|
|
ประสิทธิภาพของไฟฟ้าด้วยพลังแสง (photoclectric |
|
|
|
|
|
effect) |
1922 |
|
บอร์ N.Bohr |
เดนมาร์ก |
|
วิจัยโครงสร้างอะตอมและสเปกตรัมของรังสีปรมาณู |
|
|
|
|
|
(รังสีอะตอม) |
1923 |
|
มิลลิแกน
R.Millikan |
อเมริกัน |
|
วิจัยประจุไฟฟ้าขั้นพื้นฐานและประสิทธิภาพของ |
|
|
|
|
|
ไฟฟ้าด้วยพลังแสง |
1924 |
|
สิกบาห์น
K.Siegbahn |
สวีเดน |
|
วิจัยวิชาสเปกตรัมทางรังสี X |
1925 |
|
ฟรังค์
J.Franck ร่วมกับ |
เยอรมัน |
|
ค้นพบกฎการถ่ายโอนพลังงานในขณะที่อิเล็กตรอน |
|
|
เฮิร์ตซ
G.Hertz |
เยอรมัน |
|
ชนกับอะตอม |
1926 |
|
เปแร็ง J.B.Perrin |
ฝรั่งเศส |
|
วิจัยโครงสร้างที่ไม่เชื่อมต่อกันของวัตถุและค้นพบ |
|
|
|
|
|
ความสมดุลของการตกตะกอน |
1927 |
|
คอมป์ตัน
A.H.Compton |
อเมริกัน |
|
ค้นพบว่าภายหลังฉายกัมมันตรังสี X แล้ว ในขณะ |
|
|
|
|
|
เดียวกันจะปรากฏคลื่นที่มีความยาวของคลื่นทวี |
|
|
|
|
|
มากขึ้น |
|
|
วิลสัน C.Wilson |
อังกฤษ |
|
ประดิษฐ์ห้องหมอก (cllond chamber) ที่สามารถ |
|
|
|
|
|
มองเห็นทางเดินของอนุภาพอิเล็กตรอน |
1928 |
|
ริชาร์ดสัน
O.Richardson |
อังกฤษ |
|
ค้นพบกฎแห่งความสัมพันธ์ระหว่างการฉาย |
|
|
|
|
|
อิเล็กตรอนกับอุณหภูมิที่เกี่ยวพันกัน |
1929 |
|
บร็อกลี L.de
Broglie |
ฝรั่งเศส |
|
เสนอสมมติฐานว่าอิเล็กตรอนมีคลื่นด้วย โดยตั้งเป็น |
|
|
|
|
|
ข้อคิดว่าด้วยคลื่นของวัตถุ |
1930 |
|
รามัน
Chandrasekhara Raman |
อินเดีย |
|
วิจัยการกระจายออกของแสงและค้นพบประสิทธิภาพ |
|
|
|
|
|
รามัน (Raman
effect) |
1931 |
|
ไม่ได้มอบรางวัล |
|
|
|
1932 |
|
ไฮเซนเบอร์ก W.Heisenberg |
เยอรมัน |
|
สร้างวิชากลศาสตร์ควอนตัม (quantum mechanics) |
|
|
|
|
|
ขึ้น |
|
|
|
|
|
ปี |
|
ผู้ได้รางวัล |
สัญชาติ |
ผลงาน |
1933 |
|
ดีแร็ค P.a.M.Dirac |
อังกฤษ |
|
ค้นคว้าทฤษฎีว่าด้วยควอนตัมของอิเล็กตรอนโดย |
|
|
|
|
|
พัฒนาวิชากลศาสตร์ควอนตัม |
|
|
ชเริดดิงเออร์
E.Schrodinger |
ออสเตรีย |
|
สร้างวิชาวีจิกลศาสตร์ (wave mechnics) ขึ้น |
1934 |
|
ไม่ได้มอบรางวัล |
|
|
|
1936 |
|
ชาดวิค J.Chadwik |
อังกฤษ |
|
ค้นพบนิวตรอนในปี 1932 |
1936 |
|
เฮสส์ V.Hess |
ออสเตรีย |
|
ค้นพบรังสีคอสมิค (cosmic rays) |
|
|
แอนเดอร์สัน
C.Anderson |
อเมริกัน |
|
ค้นพบปฏิฐานอิเล็กตรอน (positive electron) หรือ |
|
|
|
|
|
โปสิตรอน (positron) |
1937 |
|
เดวิสสัน
C.Davisson ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
ค้นพบภาวะดิฟแฟรคชั่นของรังสีอิเล็กตรอนในผลึก |
|
|
ธอมสัน
G.P.Thomson |
อังกฤษ |
|
|
1938 |
|
เฟร์มิ E.Fermi |
อิตาลี |
|
ค้นพบธาตุกัมมันตรังสีใหม่โดยอาศัยการฉายนิวตรอน |
1939 |
|
ลอร์เรนซ์
E.Lawrence |
อเมริกัน |
|
ประดิษฐ์เครื่องไซโคลตรอน (cyclotron) |
1943 |
|
สเทอร์น O.Stern |
อเมริกัน |
|
พัฒนาวิธีฉายลำแสงโมเลกุล
(emission of |
|
|
|
|
|
molecular beams) และได้ค้นพบโมเมนต์โปรตอน |
1944 |
|
ราบี I.Rabi |
อเมริกัน |
|
วิจัยวิธีตรวจวัดกำทอนแม่เหล็กนิวเคลียส |
|
|
|
|
|
(nuclear magnetic resonance) |
1945 |
|
เพาลี W.Pauli |
อเมริกัน |
|
ค้นพบหลักแห่งการกีดกัน (pauli exclusion principle) |
1946 |
|
บริดจ์แมน P.Bridgman |
อเมริกัน |
|
วิจัยวิชาฟิสิกส์ว่าด้วยความดันสูง (high-pressure |
|
|
|
|
|
physics) |
1947 |
|
แอ๊ปเพิลตัน
E.Appleton |
อังกฤษ |
|
ค้นพบ "ชั้นบรรยากาศแอ๊ปเพิลตัน" (Appletion layer) |
|
|
|
|
|
ชั้นอิออนคลื่นสั้นวิทยุในบรรยากาศสูง |
1948 |
|
แบล็คเคทท์
P.Blackett |
อังกฤษ |
|
ค้นพบการแผ่รังสีคอสมิค |
1949 |
|
ยุคะวะ Hideki
Yukawa |
ญี่ปุ่น |
|
เสนอทฤษฎีว่าด้วยเมซอน (meson) ของพลังนิวเคลียร์ |
|
|
|
|
|
โดยคาดการณ์ว่ามีตัวมิวออน (muon) อยู่ในอนุภาค |
1950 |
|
เพาเอิล C.Powell |
อังกฤษ |
|
วิจัยวิธีถ่ายภาพนิวเคลียร์ และได้ค้นพบตัวไพออน |
|
|
|
|
|
(pion) |
1951 |
|
ค็อคครอฟ
J.Cockeroff ร่วมกับ |
อังกฤษ |
|
วิเคราะห์การแยกตัวนิวเคลียร์ของธาติลิเธียม (lithium) |
|
|
วอลตัน E.Walton |
ไอริช |
|
ด้วยตัวเร่ง (accelerator) โปรตอน |
1952 |
|
บล็อก
F.Bloch ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
ค้นพบกำทอนแม่เหล็กนิวเคลียร์ในของแข็ง |
|
|
เพอร์เซล
E.purcell |
อเมริกัน |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ปี |
|
ผู้ได้รางวัล |
สัญชาติ |
ผลงาน |
1953 |
|
เซอร์นิก
F.Zernike |
ดัทช์ |
|
ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์วัฎภาคเปรียบต่าง |
|
|
|
|
|
(phase contrast microscope) |
1954 |
|
บอร์น M.Born |
อังกฤษ |
|
อธิบายและวัยวิชาควอนตัมกลศาสตร์ (quantum |
|
|
|
|
|
mechanics )
และสถิติของฟังก์ชั่นคลื่น |
|
|
โบเทอ W.Bothe |
เยอรมัน |
|
วิจัยการแผ่รังสีคอสมิคด้วยวิธีวงจรเป็นเอกฉันท์ |
|
|
|
|
|
(coincidence circuit หรือ Geiger counter) |
1955 |
|
แลมบ์ W.Lamb |
อเมริกัน |
|
วิจัยโครงสร้างอันละเอียดปราณีต สเปกตรัมด้านธาตุ |
|
|
|
|
|
ไฮโดรเจน |
|
|
คุช P.Kusch |
อเมริกัน |
|
ตรวจวัดความแม่นยำของโมเมนต์แม่เหล็กอิเล็กตรอน |
1956 |
|
บาร์ดีน
J.Bardeen ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
วิจัยตัวนำและประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ |
|
|
ช็อคลีย์
W.Shockley |
|
|
|
|
|
บราทเทน
W.Brattain |
|
|
|
1957 |
|
หยางเจิ้นหนิง
C.N.Yang |
จีนอเมริกัน |
|
ค้นพบว่าภาวะดุลยภาพไม่อาจรักษาไว้ได้ภายใต้ |
|
|
หลี่เจิ้งเต้า T.P.Lee
ร่วมกัน |
จีนอเมริกัน |
|
ผลกระทบที่เปราะบาง (parity would not be con- |
|
|
|
|
|
served in the weak interaction) |
1958 |
|
เชเรคอฟ P.A.Cherendov
ร่วมกับ |
โซเวียต |
|
ค้นพบและได้อธิบายเกี่ยวกับประสิทธิภาพการแผ่รังสี |
|
|
ฟรังค์ L.M.Frank |
โซเวียต |
|
เซเรนคอฟในวัตถุเมื่ออนุภาคของอะตอมประกอบด้วย |
|
|
ทาม L.Y.Tamm |
โซเวียต |
|
ไฟฟ้าที่มีความเร็วสูง |
1959 |
|
เซเกร์ E.Segre ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
ค้นพบแอนตี้โปรตอน (antiproton) ในปี 1955 |
|
|
แซมเบอร์เลน O.Chamberlain |
อเมริกัน |
|
|
1960 |
|
เกลเซอร์ D.Glaser |
อเมริกัน |
|
ประดิษฐ์บับเบิลแซมเบอร์ (bubble chamber) |
1961 |
|
ฮอฟสตัดเตอร์
R.Hofstadter |
อเมริกัน |
|
วิจัยโครงสร้างแม่เหล็กไฟฟ้าของนิวเคลียร์ด้วยการ |
|
|
|
|
|
กระเจิงของอิเล็กตรอนพลังสูง |
|
|
เมิสส์เบาเออร์
R.Mossbauer |
เยอรมัน |
|
ค้นพบประสิทธิภาพเมิสสส์เบาเออร์ (Mossbauer |
|
|
|
|
|
effect) ของการดูดรับกำทอนไร้แรงสะท้อนของการแผ่ |
|
|
|
|
|
รังสี V ในนิวเคลียร์ |
1962 |
|
ลานดาน L.D.Landan |
โซเวียต |
|
ค้นคว้าภาวะควบแน่นและภาวะไหลยิ่งยวดและภาวะ |
|
|
|
|
|
นำยิ่งยวดของสสาร |
1963 |
|
มาดามไมเออร์ M.G.Mayer ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
ค้นคว้าและพัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับรูปทรงของชั้นเปลือก |
|
|
เจนเสน
J.H.D.Jensen |
อเมริกัน |
|
นิวเคลียร์ปรมาณู |
|
|
วิกเนอร์
E.P.Wigner |
อเมริกัน |
|
วิจัยทฤษฎีเกี่ยวกับบทบาทที่มีต่อกันระหว่างโปรตอน |
|
|
|
|
|
กับนิวตรอนโดยการควบคุมนิวเคลียร์ |
|
|
|
|
ปี |
|
ผู้ได้รางวัล |
สัญชาติ |
ผลงาน |
1964 |
|
ทาวน์ซ C.H.Townes ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
ประดิษฐ์เครื่องส่งคลื่นไมโครเวฟโดยหลักทฤษฎี |
|
|
บาซอฟ N.G.Basov |
โซเวียต |
|
การส่งคลื่นไมโครเวฟ พร้อมทั้งได้ประสพความสำเร็จ |
|
|
โปรฮรอฟ
A.M.Prokhrov |
โซเวียต |
|
ด้านวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ควอนตัม |
1965 |
|
ชวินเกอร์
J.S.Schwinger ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
วิจัยหลักทฤษฎีมูลฐานว่าด้วยพลศาสตร์ไฟฟ้า |
|
|
ไฟน์มัน
R.P.Feynman |
อเมริกัน |
|
ควอนตัม (quantum electrodynamics) |
|
|
ชินิติโระโตะโมะนะกะ |
ญี่ปุ่น |
|
|
|
|
Shinitiro Tomonaga |
|
|
|
1966 |
|
คาลเล A.Kasler |
ฝรั่งเศส |
|
วิจัยวิธีเกี่ยวกับการดูดกลืนสเปกตรัมกำทอนคลื่นวิทยุ |
|
|
|
|
|
ของอะตอม |
1967 |
|
เบธ H.A.Bethe |
อเมริกัน |
|
วิจัยบททฤษฎีว่าด้วยพลังงานดาวฤกษ์
(stellar |
|
|
|
|
|
energy) |
1968 |
|
แอลวาเรซ L.W.Alvarez |
อเมริกัน |
|
วิจัยอนุภาคมูลฐานและค้นพบภาวะกำทอนของ |
|
|
|
|
|
อนุภาคดังกล่าว |
1969 |
|
เกลล์-แมน M.Gell-Mann |
อเมริกัน |
|
เสนอทฤษฎีว่าด้วยแบบ
"ควาค" (quark)
ขึ้นเมื่อปี |
|
|
|
|
|
1964
และค้นพบการแยกประเภทอนุภาคมูลฐาน |
|
|
|
|
|
และความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน |
1970 |
|
อัลเฟน H.Alfven |
สวีเดน |
|
วิจัยอุทกพลศาสตร์ แม็กนิโต
|
|
|
|
|
|
(magnetohydrodynamics) |
|
|
เนล L.Neel |
ฝรั่งเศส |
|
วิจัยมูลฐานและค้นพบอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้า
|
|
|
|
|
|
(ferrimagnetism) และแอนตี้อำนาจแม่เหล็กไฟฟ้า |
|
|
|
|
|
(antiferromagnetism) |
1971 |
|
กาบอร์ D.Gabor |
อเมริกัน |
|
ค้นพบเทคนิคการถ่ายภาพขยายรวม (holography) |
|
|
บาร์ดีน J.Bardeen
ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับสภาพนำยิ่งยวด (supercon- |
|
|
คูเปอร์ L.N.Coper |
อเมริกัน |
|
ductivity)
(เรียกย่อๆ ว่า "BCS theory" โดยใช้อักษร |
|
|
ชรีฟเฟอร์ J.R.Schrieffer |
|
|
ตัวต้นของชื่อทั้งสามท่าน) |
1973 |
|
เอะกะซะติ
Ekasaki ร่วมกับ |
ญี่ปุ่น |
|
ค้นพบประสิทธิภาพอุโมงค์ (tunnel effect) ในกึ่ง |
|
|
กาเอเวอร์
L.Giaever |
อเมริกัน |
|
ตัวนำและเหนือตัวนำ (semiconductor & supercon- |
|
|
โจเซฟสัน
B.Josephson |
อังกฤษ |
|
ductor)
สร้างทฤษฎีประสิทธิภาพโจเซฟสันเกี่ยวกับ |
|
|
|
|
|
กระแสไฟฟ้าเหนือตัวนำไหลผ่านวิชชุมัชฌิมของอุโมงค์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ปี |
|
ผู้ได้รางวัล |
สัญชาติ |
ผลงาน |
1974 |
|
ไรล์ M.Ryle ร่วมกับ |
อังกฤษ |
|
สร้างผลงานวิจัยในด้านดาราศาสตร์ทางคลื่นวิทยุ |
|
|
เฮอวิช A.Hewish |
อังกฤษ |
|
(radio astronomy) |
1975 |
|
บอร์ A.Bohr ร่วมกับ |
เดนมาร์ก |
|
ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนที่รวมกลุ่ม |
|
|
ม็อตเตลสัน
B.R.Mottelson |
เดนมาร์ก |
|
(collective motion) ของนิวเคลียร์กับการเคลื่อนที่ของ |
|
|
เรนวอเทอร์
L.J.Rainwater |
อเมริกัน |
|
อนุภาค และได้พัฒนาทฤษฎีว่าด้วยโครงสร้าง |
|
|
|
|
|
อะตอมมิคนิวเคลียร์ด้วย |
1976 |
|
ติงจ้าวจง
S.C.Ting ร่วมกับ |
จีนอเมริกัน |
|
ค้นพบอนุภาคใหม่ J/ ที่หนักกว่าโปรตอน |
|
|
ริชเตอร์
B.Richter |
อเมริกัน |
|
สามเท่าเศษ |
1977 |
|
แอนเดอร์สัน
P.Anderson ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
เสนอทฤษฎีฟิสิกส์สาขา "โครงสร้างและสมบัติของแข็ง" |
|
|
มอทท์ N.Mott |
อเมริกัน |
|
ในการวิจัยเพื่อทำความเข้าใจในสมบัติของอิเล็กตรอน |
|
|
วเล็ค J.H.van
Vleck |
อเมริกัน |
|
ที่มีต่อของแข็งแม่เหล็กและของแข็งอสัณฐาน |
1978 |
|
คาปิตซา P.L.Kapitza |
โซเวียต |
|
วิจัยฟิสิกส์สาขาอุณหภูมิต่ำและอะตอมมิคนิวเคลียร์ |
|
|
วิลสัน
R.W.Wilson ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
ค้นพบการแผ่รัศมีภูมิหลังของไมโครเวฟคอสมิค |
|
|
เพ็นเซียส
A.A.Penzias |
อเมริกัน |
|
|
1979 |
|
แกลเชว์
S.Glashow ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
สร้างทฤษฎีแห่งความเห็นเอกภาพของปฏิกิริยาอ่อน |
|
|
เวนเบอร์ก
S.Weinberg |
อเมริกัน |
|
ที่มีต่อกันในระหว่างอนุภาคมูลฐานกับปฏิกิริยาที่มี |
|
|
ซาลัม A.Salam |
ปากีสถาน |
|
ต่อกันของแม่เหล็กไฟฟ้า |
1980 |
|
โครนิน
J.W.Cronin ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
สร้างผลงานการวิจัยเกี่ยวกับอนุภาคมูลฐาน |
|
|
ฟิตซ์ V.L.Fitch |
อเมริกัน |
|
สร้างผลงานในด้านพัฒนาวิชา สเปคตรัมแสงเลเซอร์ |
1981 |
|
เบลิมเบอร์เก็น N.Bloemlerjen ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
วิจัยวิชาสเปกตรัมอะตอมมิค |
|
|
ซอว์โลว์ A.Schawhow |
อเมริกัน |
|
|
|
|
ซิกบาห์น
K.M.Siegbahn |
สวีเดน |
|
|
1982 |
|
วิลสัน K.G.Wilson |
อเมริกัน |
|
วิจัยวิธีการที่ล้ำลึกและชัดแจ้งในการแก้ปัญหาการ |
|
|
|
|
|
แปรเปลี่ยนจากโลหะถึงของเหลวและจากน้ำถึงไอน้ำ |
|
|
|
|
|
อันเป็นปรากฏการณ์ที่ใหญ่หลวง |
1983 |
|
จันทราสิขา S.Chandrasekhar ร่วมกับ |
อเมริกัน |
|
สร้างผลงานการวิจัยเกี่ยวกับวิถีทางสู่ชราภาพของ |
|
|
ฟาวเลอร์
W.A.Fowler |
อเมริกัน |
|
ดาวฤกษ์ อันได้แก่
การเผาผลาญเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ |
|
|
|
|
|
ของดาวฤกษ์, การก่อตัวของธาตุประกอบใหม่ |
|
|
|
|
|
ตลอดจนการสลายตัวลงในที่สุด |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|